1 / 124

Medication Safety

Medication Safety. เทคนิคในการพัฒนางาน. เพ็ญจันทร์ แสนประสาน E-mail : PENCHUN_S@hotmail.com. การบริหารยา. หมายถึง การให้ยาข้าสู่ร่างกาย โดยคำนึงถึงความถูกต้องตามหลักการให้ยา ผู้รับบริการได้รับยาอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับวัตถประสงค์ของการให้ยา.

fionan
Download Presentation

Medication Safety

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Medication Safety เทคนิคในการพัฒนางาน เพ็ญจันทร์ แสนประสานE-mail : PENCHUN_S@hotmail.com

  2. การบริหารยา หมายถึง การให้ยาข้าสู่ร่างกาย โดยคำนึงถึงความถูกต้องตามหลักการให้ยา ผู้รับบริการได้รับยาอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับวัตถประสงค์ของการให้ยา

  3. หากพบเครื่อง Infusion Pump มีสัญญาณดังขึ้น ท่านที่ ไม่ใช่พยาบาลจะทำอย่างไร หาทางแจ้งให้พยาบาล ที่อยู่ใกล้เคียงทราบ เร็วที่สุด

  4. Benchmarking Output Input PROCESS Benchmarking Benchmarking ขอบเขตของการทำ Benchmarking

  5. ฝ่ายการพยาบาล “ การที่ผู้ให้บริการขาดความรู้ ข้อมูลหรือสารสนเทศเป็นเหตุผลสำคัญของปัญหาทางคุณภาพที่รุนแรงในสถานบริการสุขภาพ” SAINTLOUIS HOSPITAL Wennberg EJ : 1987 อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  6. พยาบาล นโยบาย วางแผนและ พัฒนาระบบยา สือสาร คัดเลือก จัดหา สั่งใช้ เก็บรักษา เตรียมความพร้อม ในการบริหารยา เตรียม บริหารยา กระจาย และให้คำแนะนำ ประเมินผลการใช้ยา ปรับปรุงและประเมินผล เฝ้าระวัง Med. Error, ADR, HAD รายงานความเสี่ยง Drug Systemโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ คกก.เวชภัณฑ์ และจัดซื้อ ทีมพัฒนาระบบยา เภสัชกร แพทย์ พยาบาล RM

  7. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา การใช้การกระจายยา • การสั่งการรักษา • การจัดเตรียม/ จัดเก็บยา • การจัดแจกยา • การบันทึกในใบ MAR

  8. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา การจัดการ/การเฝ้าระวังความเสี่ยง • RCA/ FMEA

  9. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา High Alert Drug • ยา High Alert Drug หมายถึง ยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษเนื่องจากมีความเสี่ยงสูง แม้ว่าจะไม่ใช้ยาที่ให้บ่อยครั้ง • การเฝ้าระวังยา High Alert Drug

  10. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา Adverse Drug Reaction • ยา Adverse Drug Reaction หมายถึง ยาปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจและเป็นอันตราต่อร่างกายมนุษย์โดยเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาปกติ เพื่อการป้องกัน วินิจฉัย บรรเทา บำบัดรักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทำงานของร่างกาย โดยไม่รวมปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาเกินขนาด โดยอุบัติเหตุหรือเจตนา

  11. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา Adverse Drug Reaction • เกณฑ์การประเมิน ADR 1.Certainly 2. Probable 3. Possible

  12. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา ยา Reconcile • ยา Reconcile หมายถึง ยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้านหรือยาที่รับย้ายจากตึกผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล

  13. บทบาทพยาบาลในการบริหารยาบทบาทพยาบาลในการบริหารยา การประเมินผลการได้รับยา • การใช้กระบวนการพยาบาล

  14. Medicationเมื่อเกิดภาวะวิกฤติMedicationเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ ข้อปฏิบัติทั่วไปในการให้ยาในการรักษาภาวะCardiac arrest • เส้นเลือดดำที่ใช้ในการให้ยาควรใช้หลอดเลือดดำส่วนปลาย (peripheral vein) เช่น antecubital vein • ภายหลังการให้ยาทุกครั้งต้องให้ normal saline (NSS) หรือ sterile water 10-20ml. • สามารถให้ยาบางชนิดเข้าทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube) เมื่อไม่สามารถให้ทางหลอดเลือดดำได้ ได้แก่ epinephrine (adrenaline), atropine, lidocaine (Xylocard) และ naloxone

  15. การคำนวณยาที่เป็น Continuous drip µd/min = 6 x body weight (kg) x dose (µg/kg/min) 100 x concentration ตัวอย่างที่1 ผู้ป่วยหนัก 50 กิโลกรัม ต้องการ drip ยา dopamine ความเข้าข้น 2:1 ให้ได้ขนาดยา 10 µg/kg/min จะต้อง drip dopamine กี่ µd/min แทนค่าbody weight =50 kg Dose = 10 µg/kg/min Concentration= 2:1 = 2 ดังนั้น *d/min = 6x50x10 = 15 µd/min 100x2

  16. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ประเมินผลระบบ

  17. Medical Errors • 1995: A series of tragic medical errors in USA brought the issue of patient safety to the public and professional’s attention • 1999: As many as 98,000 patients died each year from medical mistakes (IOM report: “To Err is Human”)

  18. Sentinel Event Alert • Potassium chloride199815. Infusion pumps • Policy issues 16. Proactive risk reduction • Policy issues 17. Home fires (O2 therapy) • Policy issues 18. Kernicterus • Policy issues 19.Look-alike,sound-alike drug2001 • Wrong site surgery 199820. Kreutzfeldt-Jakob disease • Suicide 21. Medical Gas mix-ups • Restraint deaths 22. Needles&sharps injuries • Infant abductions 23. Dangerous abbreviation 2001 • Transfusion errors 24. Wrong site surgery #2 2001 • High alert medication 199925. Ventilator-related events 2002 • Op/post-op complications 26. Delays in treatment • Impact of SE Alert 27. Bed rail deaths & injuries • Fatal falls 28. Infection related events • 29. Preventing surgical fire

  19. Sentinel Event AlertIssue 1 - February 27, 1998 Medication Error Prevention -- Potassium Chloride • Joint Commission ทบทวน 10 incidents ที่ผู้ป่วยเสียชีวิตจากการบริหารยา KCl ผิดพลาด • 8 ใน 10 เกิดจากการให้ KCl เข้มข้นโดยตรง • ทุกกรณีที่เกิดเนื่องจากมี KCl เข้มข้นที่แผนกพยาบาล • 6 ใน 8 cases, ให้ KCl เนื่องจากให้สลับกับยาอื่น ซึ่งมี packaging และ labeling คล้ายกัน ส่วนมากพบ KCl สลับกับ sodium chloride, heparin หรือ furosemide (Lasix). • คำแนะนำจาก JCAHO • ไม่ให้โรงพยาบาลสำรอง KCL ไว้นอกฝ่ายเภสัชกรรม นอกจากจะมีระบบป้องกันเฉพาะที่เหมาะสม • พนักงานชั่วคราวต้องรับทราบ

  20. Goal Improve the safety of using high alert medication พัฒนาความปลอดภัยของการใช้ยาที่มีโอกาสเสี่ยง

  21. Goal 3 3.a ยกเลิกการเก็บสารละลายอิเล็คโตรไลท์ทีมีความเข้มข้นสูงใน หอผู้ป่วยได้แก่โปแตสเซียมคลอไรด์, โปแตสเซียมฟอสเฟตและโซเดียมคลอไรด์ทีมีความเข้มข้นเกิน 0.9% 3.b กำหนดมาตรฐานและจำกัดจำนวนยาที่มีความเข้มข้นสูงในหน่วยงานลดจำนวนรายการยาเดียวกันที่มีหลายความแรงให้เหลือน้อยที่สุดและเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้งโรงพยาบาล

  22. Goal 3 Improve the safety of using high alert medication พัฒนาความปลอดภัยของการใช้ยาที่มีโอกาสเสี่ยง

  23. กำหนดรายชื่อยาที่มีความเสี่ยง (High Alert Medications) • Anticoagulants and thrombolytic agents • Antineoplastic and chemotherapeutic drugs • Insulin • Electrolytes • Cardiovascular drugs • Narcotics and sedatives

  24. การจัดการกับยาที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ การบริหารยาที่ต้องมีการเช็คซ้ำ(Double check) ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารยาผู้ป่วย (NRS1.09)

  25. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL High Alert Drug • กำหนดยาร่วมกันเพื่อเฝ้าระวัง • กำหนดข้อระวังและการติดตามอาการ • นำเสนอทีมนำทางคลินิกตามแต่ละกลุ่ม • จัดทำสลากยาแตกต่างกัน • จัดทำ Incompatibility Chart อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  26. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL High Alert Drug 6. ผสมยาตามมาตรฐานไว้ล่วงหน้า 7. จัดทำสูตรคำนวณขนาดยา วิธีผสมยาให้ชัดเจน 8. จัดทำแนวทางการให้ยาที่ชัดเจน 9. จัดทำแบบเฝ้าระวัง High Alert Drug อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  27. Warfarin Heparin เคมีบำบัด Insulin Digoxin Dopamine Potassium Narcotic ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ตัวอย่าง (HAD) อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  28. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL Medication Error • กำหนดวิธีค้นหา เป็นเฝ้าระวังร่วมกัน • เก็บข้อมูล Near Miss หมายถึง Predispensing Error (ก่อนเภสัชส่งยาให้แก่หน่วยงาน) • เก็บข้อมูลโดยใช้ Check List (Occurrence Report) • เฝ้าระวังผลข้างเคียง และอาการแพ้ยา • บันทึกและรวบรวมข้อมูล • จดทำ FMEA/ RCA ระบบบริหารยา อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  29. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL บทบาทของพยาบาล : ในการบริหารยา • จัดระบบบริหารยาและบริการยาในหอผู้ป่วยในให้มีประสิทธิภาพและปลอดภัย • สัมภาษณ์ ประเมิน ประวัติการใช้ยาในอดีตของผู้ป่วยและปัจจุบัน • ประเมินสภาพแวดล้อม ความพร้อมของผู้ป่วยในการใช้ยา รวมทั้งผู้ดูแล ชุมชน สังคม ในการใช้การกระจายยาได้ถูกต้อง ครอบคลุม • บันทึกประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย • ค้นหาปัญหาของการช้ายาของผู้ป่วย • ตรวจสอบคัดกรองการแพ้ยาและปฏิบัติการได้รับยา • นำข้อมูลประเด็นปัญหาข้อวินิจฉัยการพยาบาลมาวิเคราะห์และติดตามตลอดกระบวนการดูแลรักษาด้วยยา อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  30. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL บทบาทของพยาบาล : ในการบริหารยา 8. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดุแลตนเองต่อผลของการได้รับยาให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว (ตามพื้นฐานทางวิชาการที่อ้างอิงได้) 9. บริหารยาในการตัดสินใจใช้ยาด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และถูกต้องตามหลักวิชาการที่อ้างอิงได้ เช่น มาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล 10. เก็บรักษาและจัดทำ Stock ยาที่เหมาะสมเพียงพอใช้ในการบริการรักษาพยาบาล 11. ประสิทธิภาพ 12. จัดแบ่งยา/ ผสมยา ขนาดน้อยๆ สำหรับเด็ก/ ทารก ให้เหมาะสมกับความต้องการ 13. เฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา ทั้งระบบการจัดเตรียม การบันทึก และการบริหารยา 14. ตรวจประเมินเพื่อประกันคุณภาพในการบริหารยาตามมาตรฐานวิชีพพยาบาล ทุกรูปแบบของการให้ยา อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  31. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ความรู้ความสามารถของพยาบาล : การบริหารยา 1. การจัดเก็บ - การเก็บยา High Alert Drug - การเก็บยาฉุกเฉิน - การเก็บยา Stock - การเก็บรักษายาเสพติด - การเก็บยาที่ต้องการความเย็น - การเก็บสารละลาย อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  32. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ความรู้ความสามารถของพยาบาล : การบริหารยา 2. การเตรียมยา - ชื่อยา (สามัญ และการค้าในโรงพยาบาล) - วิธีการสั่งใช้ยา - คำย่อที่ใช้ - การแทนยาที่มีชื่อสามัญเดียวกัน - การคำนวณขนาดของยา - ข้อความเตือน/ ฉลากช่วยจำต่างๆ อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  33. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ความรู้ความสามารถของพยาบาล : การบริหารยา 2. การเตรียมยา (ต่อ) - ข้อห้ามใช้ของขนาดยาระมักระวังสูง - ปฏิกิริยาระหว่างยากับยา, ยากับอาหาร, ยากับสารละลาย - ปฏิกิริยาระหว่างยากับโรค - อาการอันไม่พึงประสงค์ - ขนาด สี ลักษณะภายนอกของยา - การบรรจุ/ วิธีการผสมยา - ข้อความเตือน/ ฉลากช่วยจำต่างๆ อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  34. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ความรู้ความสามารถของพยาบาล : การบริหารยา 3. การตัดสินใจใช้ยา - ทบทวนคำสั่งการรักษา - ประเมินอาการผู้ป่วย/ ปัญหาปัจจุบัน - ประเมินความสามารถใช้ยาของผู้ป่วยอย่างสั้น - อธิบายผลของยา และอาการไม่พึงประสงค์ของยาที่ต้องระมัดระวังสูง - ให้ยาอย่างถูกต้องทั้งเทคนิค/ วิธีการ/ ผู้ป่วย/ ขนาด/ เวลา อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  35. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ความรู้ความสามารถของพยาบาล : การบริหารยา 4. การติดตามผล - ติดตามประเมินผลของยา - รายงานอาการไม่พึงประสงค์ของยา - ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ - ติดตามผลการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ - ติดตามผลการไม่ใช้ยาตามสั่งและประเมินปัญหา - ร่วมปรับเปลี่ยนวิธีการให้ยาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้ป่วย/ ผู้ดูแล แต่ละคน กับสหสาขาวิชาชีพ อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  36. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ความรู้ความสามารถของพยาบาล : การบริหารยา 5. การประเมินความสามารถการใช้ยาของผู้ป่วย/ ผู้ดูแล - การเกิดอาการไม่พึงประสงค์ - การได้รับยาผิดปริมาณ โดยไม่ทำตามคำแนะนำ ใช้ยาผิด ใช้มากเกินไป ใช้ยาซ้ำ ใช้ยาคล้ายกับเสริมฤทธิ์กัน ตารางเวลาไม่ถูต้อง - การเตรียมการกลับบ้าน/ การใช้ยาของผู้ป่วยที่บ้าน อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  37. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL บันทึกทางการพยาบาล : บริหารยา 1. ประวัติการแพ้ยา - แสดง ADR ใน OPD Card - แบบประเมินประวัติการแพ้ยา - Admittion Data Base - Discharge plan อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  38. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL บันทึกทางการพยาบาล : บริหารยา 2. การใช้กระบวนการพยาบาล - ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเมื่อเกิด ADR - ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเฝ้าระวังอาการข้างเคียงเมื่อได้รับยาที่มีความเสี่ยง - ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ได้รับการแก้ไขโดย “ยา” - ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเมื่อเตรียมจำหน่ายและยาที่นำกลับบ้าน อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  39. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL บันทึกทางการพยาบาล : บริหารยา 2. การใช้กระบวนการพยาบาล(ต่อ) - Kardex ชี้บ่งชนิด/ วิธีการได้รับยาตามข้อวินิจฉัยการพยาบาล (ยาที่มีเทคนิควิธีการให้ที่หลากหลาย/ มีความเสี่ยง) - ใบ Medication administration record - ใบ Nurse’s note - Doctor order อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  40. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL บันทึกทางการพยาบาล : บริหารยา 3. บันทึกการให้ยา 4. บันทึกการตรวจรับยาจากเภสัช 5. บันทึกใบแจ้ง ADR (ถ้ามี) 6. บันทึกใบ IR อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  41. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ADR ปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ (อาการที่ไม่พึงประสงค์) ที่เกิดจากยา การแพ้ยา (Drug allergy/ Drug hypersensitivity) อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  42. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL WHO ไม่ระบุรวม/ ไม่รวม Side effect : อาการข้างเคียงของยา อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  43. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL American Society of Health-System Pharmacists ไม่รวมผลข้างเคียง : Side effect จะไม่มีผล หรือผลน้อยต่อการจัดการกับผู้ป่วย อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  44. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL นิยาม ADR WHO : 1972 “ การตอบสนองใดๆ ต่อยาที่เป็นอันตรายและไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อใช้ตามขนาดปกติในมนุษย์ เพื่อการป้องกัน วินิจฉัยโรค หรือเปลี่ยนแปลงผลทางสรีระวิทยาของร่างกาย” และในปี 2002 WHO 1ได้ระบุคำนิยามของ ADR ใหม่ ซึ่งสั้นลงจากเดิม ดังนี้ อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  45. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ตารางที่1: เปรียบเทียบความหมายของ Drug allergy กับคำนิยามของ ADR และ Side effect ที่กำหนดโดย WHO อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  46. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ตารางที่2: เปรียบเทียบความหมายของ Drug allergy กับคำนิยามของ ADR และ Side effect ที่กำหนดโดย ASHP อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  47. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ตารางที่2: เปรียบเทียบความหมายของ Drug allergy กับคำนิยามของ ADR และ Side effect ที่กำหนดโดย ASHP อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  48. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL สำหรับในส่วนของอาการข้างเคียงจากการใช้ยานั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาขอให้ส่งรายงานเฉพาะอาการที่รุนแรง ซึ่งหมายถึง อาการที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดเหตุการณ์ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ • เสียชีวิต (Death) • อันตรายถึงชีวิต (Life-threatening) • ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหรือเพิ่มระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลให้นานขึ้น (Hospitallization-initial/ prolonged) • พิการ (Disability) • เกิดความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital anomaly) อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

  49. ฝ่ายการพยาบาล SAINTLOUIS HOSPITAL ในการประเมินผู้ป่วยว่ามีโอกาสแพ้ยามากน้อยเพียงใดนั้น ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยที่จำเป็นมีอะไรบ้าง • อาการแสดงของอาการแพ้ยา • เวลาที่เริ่มพบอาการ • ยาที่ผู้ป่วยได้รับก่อนแสดงอาการ เวลาที่เริ่มใช้ยาแต่ละรายการ ขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับและวิธีในการบริหารยา • โรคหรืออาการที่ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล โรคร่วมหรือโรคประจำตัวอื่นๆ ของผู้ป่วย • ประวัติการแพ้ยา • ประวัติการแพ้อาหาร • ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • ผลการตรวจร่างกาย • ประวัติการใช้ยาในอดีต • อาการของผู้ป่วยภายหลังหยุดยาที่สงสัย อาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน penchun@saintlouis.or.th

More Related