1 / 49

หน่วยที่ 11 ระบบควบคุมทางวิศวกรรม

หน่วยที่ 11 ระบบควบคุมทางวิศวกรรม. การผลิต หรือกระบวนการผลิต (manufacturing process)

fausta
Download Presentation

หน่วยที่ 11 ระบบควบคุมทางวิศวกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 11 ระบบควบคุมทางวิศวกรรม • การผลิต หรือกระบวนการผลิต (manufacturing process) • หมายถึง การนำเอาวัตถุดิบที่เป็นสสารหรือสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งที่อยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ที่เรียกว่าสารตั้งต้น (reactant) มาทำการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางด้านกายภาพ ทางด้านเคมี ให้เป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้า

  2. ขอบเขตของระบบการควบคุมทางวิศวกรรมขอบเขตของระบบการควบคุมทางวิศวกรรม • ตัวแปรนำเข้า (input variable) • ตัวแปรออก (output variable) • ตัวแปรควบคุม (controlled variable) • ตัวแปรตรวจวัด (measured variable) • ค่าเป้าหมาย (set point)

  3. กระบวนการควบคุมระบบทางอุตสาหกรรมกระบวนการควบคุมระบบทางอุตสาหกรรม

  4. นิยามศัพท์ของระบบการควบคุมทางวิศวกรรมนิยามศัพท์ของระบบการควบคุมทางวิศวกรรม • ออโตเมชั่น (automation) • ไฮดรอลิค (hydraulics) • นิวแมติก (Pneumatic) • ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) • กระบวนการ (process) • ระบบ (system)

  5. องค์ประกอบของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต ประกอบด้วย • 6 องค์ประกอบ คือ • 1) เครื่องจักรอุปกรณ์ในการผลิต • 2) เครื่องมือวัด • 3) เครื่องส่งสัญญาณ • 4) สายสัญญาณ • 5) เครื่องควบคุม • 6) เครื่องบันทึกสัญญาณ

  6. เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน เครื่องทำลมแห้ง หม้อเก็บลมอัด เครื่องอัดลม เครื่องมือ อุปกรณ์ควบคุมทางนิวแมติก ส่วนประกอบของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานและควบคุมการทำงานของระบบนิวแมติกมีดังต่อไปนี้ - เครื่องอัดลม - เครื่องระบายความร้อนของลมอัด - เครื่องทำลมแห้ง - ชุดทำความสะอาดลม - ลิ้นหรือวาล์วลดความดัน - วาล์วควบคุม - ระบบหล่อลื่นในระบบนิวแมติก - กระบอกสูบ - วงจรไฟฟ้าควบคุม

  7. การควบคุมอัตโนมัติโดยประยุกต์ใช้งานระบบโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์การควบคุมอัตโนมัติโดยประยุกต์ใช้งานระบบโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ • โครงสร้างของตัวเครื่องโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี) นั้นประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก • 1. หน่วยประมวลผลกลาง(central processing unit) • 2. หน่วยความจำ(program หรือ memoryunit) • 3. หน่วยรับสัญญาณอินพุต(input unit) • 4. หน่วยส่งสัญญาณเอาต์พุต(output unit) • 5. หน่วยจ่ายกำลังไฟฟ้า(power supply unit)

  8. PLC

  9. การควบคุมอัตโนมัติโดยประยุกต์ใช้งานระบบควบคุมกลางกระจายการควบคุม ดีซีเอส (distributed control system: DCS) • วัตถุประสงค์ของการออกแบบระบบดีซีแอสเป็นความต้องการออกแบบมาใช้ในการควบคุมระบบในลักษณะการกระจายการควบคุม หน่วยการผลิต ควบคุมการทำงานของระบบการผลิตแบบต่อเนื่อง (continuous process) • การทำงานของระบบดีซีแดสระบบควบคุมแบบ พีแอลซี ในระบบ ดีซีเอส การควบคุมด้วยอุปกรณ์ประเภท พีแอลซี จะสั่งการผ่านอุปกรณ์ควบคุม เช่น การใช้คอมพิวเตอร์บุคคล (personal computer) ผู้ควบคุมระบบจะสามารถทำการตรวจสอบติดตามผล และสั่งการโปรแกรมได้

  10. หน่วยที่ 12 หน่วยการผลิตและกระบวนการผลิตทางวิศวกรรมเคมี • การผลิต หรือกระบวนการผลิต (Manufacturing Process)หมายถึง การนำเอาวัตถุดิบที่เป็นสสารหรือสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งที่อยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว หรือ ก๊าซ ที่เรียกว่าสารตั้งต้น (reactant) มาทำการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางด้านกายภาพ ทางด้านเคมี ให้เป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้าการ(Product หรือ Goods) ที่ทำให้คุณสมบัติของสารเปลี่ยนไปจำเป็นต้องมีปัจจัยหรือกระบวนการทางด้านกายภาพ หรือกระบวนการทางด้านเคมีเสริมได้แก่ อุณหภูมิ ความดัน โดยมีถังปฎิกิริยาเคมี หรือเครื่องปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reactor • งานวิศวกรรมเคมี(Chemical Engineering)หรือวิศวกรรมระบบ (Process Engineering) เป็นการศึกษาการออกแบบ การควบคุมการทำงานของกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรมที่เน้นการเลือกกระบวนการปฏิกิริยาเคมี เลือกเงื่อนไขการผลิต การควบคุมการปฏิบัติการที่เหมาะสม

  11. จลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาแบบกวนผสมจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาแบบกวนผสม • เครื่องปฏิกิริยาเคมีแบบกะ (Batch Reactor)หลักการทำงานเบื้องต้นของถังปฏิกิริยาเคมีคือการนำสารตั้งต้น หรือสารนำเข้า (reactants หรือ feed) ใส่เข้าไปในถังปฏิกิริยาเคมีในปริมาณที่คำนวณไว้ แล้วให้มีการกวนผสม (Mixing) ให้เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอย่างสมบูรณ์

  12. เครื่องปฏิกิริยาหลายถังแบบต่อเนื่อง (Multiple Continuous Reactor ) • เป็นเครื่องปฏิกิริยาเคมีที่มีการเอาถังกวนผสมแบบสมบูรณ์หลายถัง (Continuous Stirred Tank Reactor : CSTR) ต่ออนุกรมกันซึ่งสามารถกำหนดให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นในแต่ละถังมีค่าสม่ำเสมอ (Uniform) และเท่ากับค่าความเข้มข้นในของไหลที่ไหลออกของแต่ละถัง

  13. เครื่องปฏิกิริยาเคมีแบบท่อไหล (TubularReactor หรือ Plug FlowReactor) • เป็นเครื่องปฏิกิริยาเคมีที่มีโครงสร้างคล้ายกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนระบบท่อ (Heat Exchanger) ที่มีการไหลในท่อไหลขนานกันหลายท่อ

  14. กระบวนการผลิตและระบบการผลิตในงานอุตสาหกรรมกระบวนการผลิตและระบบการผลิตในงานอุตสาหกรรม • ปฏิกิริยาดูดซับระหว่างก๊าซกับของแข็ง • ปฏิกิริยาดูดซึมระหว่างก๊าซกับของเหลว • ปฏิกิริยาดูดซึมระหว่างก๊าซกับของเหลว

  15. หน่วยที่ 13 พื้นฐานวิศวกรรมอุตสาหกรรม วิศวกรรมอุตสาหการคือการวิเคราะห์อย่างละเอียดถึงการทำงาน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ เพื่อให้องค์กรสามารถเพิ่มผลิตภาพ มีกำไรและประสิทธิภาพการทำงานสูงขึ้น • การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน • แหล่งวัตถุดิบ • ตลาด • แรงงานและค่าจ้าง • สาธารณูปโภค • การจราจรขนส่ง • สิ่งแวดล้อม • กรรมสิทธิ์ที่ดิน • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  16. การวางผังโรงงานและแผนภูมิการไหลของวัสดุการวางผังโรงงานและแผนภูมิการไหลของวัสดุ • การวางผังโรงงานแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ใหญ่ๆ ด้วยกันคือ • 1 การวางผังโรงงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (product layout)

  17. 2 การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต(process layout)

  18. 3 การวางผังโรงงานแบบตำแหน่งงานคงที่(fixed position layout)

  19. 4 การวางผังโรงงานแบบผสม

  20. รูปแบบในการไหลของวัสดุรูปแบบในการไหลของวัสดุ • 1) การไหลแบบเส้นตรง เป็นการไหลของวัสดุง่ายๆ ตามขั้นตอนการผลิต พื้นที่อาคารโรงงานจะต้องมีความยาวเพียงพอ ด้านข้างของอาคารทั้ง 2 ด้านอาจจะออกแบบเป็นสำนักงานหรือหน่วยงานสนับสนุน เช่น แผนกซ่อมบำรุง แผนกออกแบบ เป็นต้น • 2) การไหลแบบตัวเอส หรือซิกแซกเหมาะสำหรับกระบวนการผลิตที่ยาวมากและมีพื้นที่โรงงานที่สั้นกว่า มีการป้อนเข้าของวัตถุดิบและการไหลออกของผลิตภัณฑ์คนละด้านของอาคารโรงงาน

  21. ผลิตภัณฑ์ 8 7 6 5 1 1 2 3 4 วัตถุดิบ 3 2 4 วัตถุดิบ 1 1 5 ผลิตภัณฑ์ 7 6 • 3) การไหลแบบตัว ยูเหมาะสำหรับกระบวนการผลิตที่ยาวมาก แต่มีพื้นที่โรงงานที่สั้นกว่า มีการป้อนวัตถุดิบและการไหลออกของผลิตภัณฑ์ด้านเดียวกัน • 4) การไหลแบบวงกลมเหมาะสำหรับกระบวนการผลิตที่มีความยาวมาก อาคารโรงงานที่มีลักษณะทรงจัตุรัส วัสดุและสินค้าเข้า – ออก จุดเดียวกันเช่น แผนกรับ-ส่งสินค้าและวัตถุดิบอยู่ ณ จุดเดียวกัน

  22. 2 4 5 1 3 วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ 6 • 5) การไหลแบบไม่เป็นรูปแบบดังแสดงในภาพที่ 13.9 เหมาะสำหรับอาคารโรงงานที่มีข้อจำกัดเรื่องพื้นที่และจุดติดตั้งเครื่องจักรขนาดใหญ่ สิ่งอำนวยความสะดวกที่ติดตั้งถาวรอยู่ก่อนแล้ว จำเป็นต้องจัดสายการผลิตให้เข้ากับสิ่งที่มีอยู่

  23. 1. พัสดุคงคลังประกอบด้วย • 1) วัตถุดิบ • 2) วัสดุในงานระหว่างทำ • 3) วัสดุซ่อมบำรุง • 4) สินค้าสำเร็จรูป • 2. ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับพัสดุคงคลัง • 1) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ • 2) ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา • 3) ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน • 4) ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักรใหม่ • ลำดับความสำคัญในการวิเคราะห์งาน คือ • - มีความเร่งด่วน - มีต้นทุนการผลิตสูง - มีความต้องการความชำนาญสูง - มีความเสี่ยงสูง

  24. หน่วยที่ 14 อันตรายจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม • ระบบการผลิตนั้นประกอบไปด้วย 4ขั้นตอน • 1. วัตถุดิบนำเข้า 2. กระบวนการ • 3. ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ • 4. ข้อมูลป้อนกลับ

  25. ประเภทการผลิต4 ประเภท • 1. กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง • 2. กระบวนการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง • 3. กระบวนการผลิตแบบผลิตซ้ำ • 4. กระบวนการผลิตแบบงานโครงการ

  26. ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณาในการออกแบบกระบวนการผลิตปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณาในการออกแบบกระบวนการผลิต • ปัจจัยสำคัญฯ เหล่านั้นได้แก่ • 1. ปัจจัยผลิตภัณฑ์ • 2. ปัจจัยทางวัสดุ • 3. ปัจจัยเครื่องจักร • 4. ปัจจัยการผลิต • 5. ปัจจัยต้นทุน

  27. สิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม • แบ่งออกได้ 5 ประเภทคือ • 1. สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ • 2. สิ่งแวดล้อมทางด้านเคมี • 3. สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ • 4. สิ่งแวดล้อมทางด้านเออร์โกโนมิคส์ • 5. สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตสังคม

  28. การเตรียมเยื่อกระดาษมี 2 วิธีการ- การเตรียมเยื่อกระดาษโดยกระบวนการทางเคมีและ- การเตรียมเยื่อกระดาษโดยใช้เครื่องจักร • อันตรายจากอุตสาหกรรมหลอมเหล็ก เกิดจาก ฝุ่น ความร้อน ก๊าซ CO2 โลหะหนักหลายชนิด • อันตรายจากกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ • 1. กระบวนการตัดเวเฟอร์ ได้แก่ ฝุ่นที่อยู่ในรูปของตะกอนเปียกของสารหนู • (arsenic) • 2. กระบวนการเชื่อมชิพลงบนแผ่นเฟรม ได้แก่ ไอระเหยของอะซิโตน • 3. กระบวนการหุ้มชิพและเส้นลวดด้วยเรซิน ได้แก่ สารพลวงและ • สารประกอบโบรมีน

  29. หน่วยที่ 15 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมหมายถึง การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในทางวิศวกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยวัดจากคุณค่าของผลงานด้านวิศวกรรม ซึ่งประกอบด้วย- ประสิทธิภาพเชิงกายภาพ - ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐศาสตร์ • การคำนวณรายได้ประชาชาติ มี 3 วิธี คือ • - การคำนวณรายได้ประชาชาติด้านผลิตภัณฑ์ • - การคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายได้ • - การคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายจ่าย

  30. อุปสงค์ (demand; D)หมายถึง ปริมาณความต้องการสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อได้และมีความเต็มใจที่จะซื้อ • อุปทาน (supply; S) หมายถึง ปริมาณการเสนอขายสินค้าหรือบริการที่ผู้เสนอขายยินดีขายสินค้าหรือบริการนั้น ๆ ด้วยความเต็มใจ • ดุลยภาพของสินค้า(equilibrium)หมายถึง จุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน ซึ่งมีปริมาณอุปสงค์เท่ากับปริมาณอุปทาน

  31. ชนิดของต้นทุน การจำแนกต้นทุนตามหน้าที่การผลิตแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ • ค่าวัสดุทางตรง(direct materials) • ค่าแรงงานทางตรง(direct labor) • ค่าใช้จ่ายในการผลิต(manufacturing overhead )

  32. การจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุนการจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุน

  33. วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนวิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน

  34. การวิเคราะห์โดยใช้กราฟการวิเคราะห์โดยใช้กราฟ

  35. การคำนวณอัตราดอกเบี้ยการคำนวณอัตราดอกเบี้ย

  36. ระยะเวลาคืนทุน

  37. ค่าเสื่อมราคา หมายถึง การลดคุณค่าของทรัพย์สินตามกาลเวลา หรือตามปริมาณการผลิต แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ • 1. การเสื่อมราคาทางกายภาพ • 2. การเสื่อมราคาทางการใช้งาน • 3. การเสื่อมราคาจากอุบัติเหตุ

  38. ขอให้โชคดีในการสอบ H ทุกท่านครับ • manasu

More Related