1 / 79

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กับ การ บริหาร หน่วยงานของ ผู้บังคับ การ

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กับ การ บริหาร หน่วยงานของ ผู้บังคับ การ พล.ต.ท. จิโรจน์ ไชยชิต ผู้ช่วย ผบ.ตร. ( บร ๑๑). โครงการสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพ ผบก.ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ประจำปี ๒๕๕๓ จัดทำโดย กลุ่มงานอาจารย์ กองบัญชาการศึกษา. ประวัติการศึกษา

Download Presentation

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กับ การ บริหาร หน่วยงานของ ผู้บังคับ การ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติกับ การบริหารหน่วยงานของผู้บังคับการ พล.ต.ท.จิโรจน์ ไชยชิต ผู้ช่วย ผบ.ตร.(บร ๑๑)

  2. โครงการสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพ ผบก.ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ประจำปี ๒๕๕๓ จัดทำโดย กลุ่มงานอาจารย์ กองบัญชาการศึกษา • ประวัติการศึกษา • รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต จาก โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ ๒๘ • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์) จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) • หลักสูตรผู้กำกับการ รุ่นที่ ๑๖ จาก สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ • หลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ ๑๔ จาก สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ • หลักสูตรนักวิจัยสังคม จาก สภาวิจัยแห่งชาติ • Community Policing จาก Michigan State University • Major Case Management จาก FBI • หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) ๒๕๔๖

  3. โครงการสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพ ผบก.ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ประจำปี ๒๕๕๓ จัดทำโดย กลุ่มงานอาจารย์ กองบัญชาการศึกษา • ประวัติการทำงาน • ผู้บังคับการ กองงบประมาณ • ผู้บังคับการกองรักษามาตรฐานวินัย • ผู้บังคับการกองอัตรากำลัง สำนักงานกำลังพล • ผู้ช่วยผู้บัญชาการ สำนักงานแผนงานและงบประมาณ • ผู้ช่วยผู้บัญชาการ สำนักงานกำลังพล • ผู้ช่วยจเรตำรวจ • รองผู้บัญชาการ สำนักงานแผนงานและงบประมาณ • รองผู้บัญชาการ ประจำสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ • ผู้บัญชาการ ประจำสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ • ผู้บัญชาการ กองบัญชาการศึกษา • ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ปัจจุบัน)

  4. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กับการบริหารหน่วยงานของผู้บังคับการ พล.ต.ท.จิโรจน์ ไชยชิต ผู้ช่วย ผบ.ตร.

  5. หัวข้อการบรรยาย มาตรา 3/1 ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย • การบริหารเชิงยุทธศาสตร์และการมุ่งผลสัมฤทธิ์ • การถ่ายทอดเป้าหมายลงสู่ระดับต่างๆ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ ตร. 5

  6. “...การจับผู้ร้ายนั้นไม่ถือเป็นความชอบ  เป็นแต่นับว่าผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น  แต่จะถือเป็นความชอบต่อเมื่อได้ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้นอยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

  7. ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทยทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย มาตรา ๓/๑ - การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) และการปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง กรม (Restructuring) ปฏิรูปประเทศไทย รอบสอง? อดีต ปี๒๕๔๕ ทบทวนบทบาทภาครัฐ และการจัดระบบความสัมพันธ์ของภาคส่วนต่างๆ ในการบริหารกิจการบ้านเมือง (Role of the State & Collaborative Governance)

  8. Third Sector The State Private Sector Government  Governance ภาคที่สาม (ชุมชน CSONGO Social Enterprise ฯลฯ) Citizen/ Non State Actors ความสมดุล Government/ Bureaucracy Market Mechanism ภาครัฐ ภาคเอกชน

  9. CollaborativeGovernance • Intergovernmental Relations • Intersectoral Relations

  10. 10

  11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ “สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีและเป็นธรรมโดยอาศัยกลไกตลาด และสนับสนุนให้มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยต้องยกเลิกและละเว้นการตรากฎหมายและกฎเกณฑ์ที่ควบคุมธุรกิจซึ่งมีบทบัญญัติที่ไม่สอดคล้องกับความจำเป็นทางเศรษฐกิจ และต้องไม่ประกอบกิจการที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันกับเอกชน เว้นแต่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม หรือการจัดให้มีสาธารณูปโภค”

  12. มาตรา ๘๗ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วม “(๑) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น (๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการจัดทำบริการสาธารณะ (๓) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองค์กรทางวิชาชีพหรือตามสาขาอาชีพที่หลากหลาย หรือรูปแบบอื่น (๔) ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทางการเมือง และจัดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองเพื่อช่วยเหลือการดำเนินกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอความต้องการของชุมชนในพื้นที่  (๕) ส่งเสริมและให้การศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการพัฒนาการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้สิทธิเลือกตั้งโดยสุจริตและเที่ยงธรรม การมีส่วนร่วมของประชาชนตามมาตรานี้ต้องคำนึงถึงสัดส่วนของหญิงและชายที่ใกล้เคียงกัน”

  13. มาตรา ๗๘ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (๔) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ (๕) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน

  14. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ - มาตรา ๓๓ • “ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความจำเป็น หรือสมควรที่จะได้ดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของคณะรัฐมนตรี กำลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน • กำหนดเวลาในการจัดให้มีการทบทวนตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่ ก.พ.ร. กำหนด • ในกรณีที่ส่วนราชการเห็นควรยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงภารกิจในส่วนราชการดำเนินการปรับปรุงอำนาจหน้าที่ โครงสร้าง และอัตรากำลังของส่วนราชการให้สอดคล้องกัน และเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อดำเนินการต่อไป • ในกรณีที่ ก.พ.ร. พิจารณาแล้วเห็นว่าภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการใดรับผิดชอบดำเนินการอยู่สมควรเปลี่ยนแปลง ยกเลิก หรือเพิ่มเติม ให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว ให้ส่วนราชการนั้นดำเนินการปรับปรุงภารกิจ อำนาจหน้าที่ โครงสร้างและอัตรากำลังของส่วนราชการนั้นให้สอดคล้องกัน”

  15. การมีส่วนร่วม (Participation) ความโปร่งใส (Transparency) การตอบสนอง (Responsiveness) คุณภาพ (Quality) ภาระรับผิดชอบ (Accountability) ประสิทธิผล (Effectiveness) วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Vision) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความคุ้มค่า (Value for money) การกระจายอำนาจ (Decentralization) นิติธรรม (Rule of law) ความเสมอภาค/ความเที่ยงธรรม (Equity) การมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus oriented) หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 15

  16. 16

  17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา ๗๔ วรรคหนึ่ง

  18. กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดินกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ ๕ (๒๕๔๕) มาตรา ๓/๑ “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐความมีประสิทธิภาพความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่นการกระจายอำนาจตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชนทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง” 18

  19. มาตรา ๓/๑ (ต่อ) “ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานการมีส่วนร่วมของประชาชนการเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้” 19

  20. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๑ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา ๖) หมวด ๒ การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ(มาตรา ๗-มาตรา ๘) ประชาชน หมวด ๓ การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา ๙-มาตรา ๑๙) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด ๔ การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา ๒๐-มาตรา ๒๖) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด ๕ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา ๒๗-มาตรา ๓๒) หมวด ๖ การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา ๓๓-มาตรา ๓๖) หมวด ๗ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา ๓๗-มาตรา ๔๔) ความต้องการของประชาชน หมวด ๘ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา ๔๕-มาตรา ๔๙) หมวด ๙ บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา ๕๐-มาตรา ๕๓)

  21. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ Strategic Management แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ แนวนโยบายของรัฐบาล ม.๑๓-๑๔แผนบริหารราชการแผ่นดิน Result Based Management Public Participation Transparency & Responsiveness Customer-Driven ม.๙(๒) มีเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลสำเร็จ ม.๑๖แผนปฏิบัติการ ๔ปี ม.๑๐การบูรณาการร่วมกัน ม.๑๖แผนปฏิบัติการประจำปี • ม.๘ • วิเคราะห์ผลดีผลเสีย • ฟังความเห็น ปชช. • หากเกิดปัญหา รีบแก้ไข ปรับปรุงภารกิจ ม.๓๓ทบทวนภารกิจอำนาจหน้าที่ โครงสร้างและอัตรากำลัง ม.๓๓ ทบทวนกฎหมาย KM/LO ม.๑๑องค์การแห่งการเรียนรู้ ม.๔๑-๔๒หากมีข้อร้องเรียน ต้องแก้ไข และตอบให้เข้าใจ VFM/Activity-Based Costing ม.๒๓จัดซื้อโปร่งใส ม.๒๕ วินิจฉัยโดยเร็ว ม.๒๖ สั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร ม.๔๓ ทุกเรื่องเป็นเรื่องเปิดเผย ม.๔๔ เผยแพร่ข้อมูลงบรายจ่าย การปฏิรูปราชการ ม.๒๒บัญชีต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ม.๒๒ สศช. ประเมินความคุ้มค่า ม.๓๗ กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ม.๓๗ นำ ICT มาใช้ ม.๑๒ คำรับรองฯ ม.๔๕มีคณะผู้ประเมินอิสระประเมินผลสัมทธิ์ คุณภาพความพอใจ ของประชาชน ม.๔๖-๔๗ประเมินผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ม.๔๘-๔๙รางวัล ลดขั้นตอน ม.๒๗กระจายอำนาจ ม.๒๙ ทำแผนภูมิขั้นตอน ม.๓๐-๓๒ ศูนย์บริการร่วม Accountability Business Process Reengineering

  22. หมวด ๓ การบริหารราชการเพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ ม. ๑๖, ๑๗ ม. ๑๒, ๑๓,๑๔ ม. ๑๙ ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์และเป้าหมาย - ข้อตกลง แผนปฏิบัติราชการ (๔ ปี) แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (๔ ปี) ทบทวน/ เตรียมการ รัฐธรรมนูญ ประมาณการรายได้-รายจ่ายระยะปานกลาง ม. ๑๘ แผนนิติบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ม. ๑๕

  23. หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การจัดทำ ความตกลง การประเมินผล การให้รางวัล ตอบแทน

  24. การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ และการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 24

  25. ระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ • การวางยุทธศาสตร์ • แผนการบริหารราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • การวางแผนปฏิบัติการ • แผนปฏิบัติราชการประจำปี • (ผลผลิต-กิจกรรม-ทรัพยากร) P D C A • การวัดผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • เงินรางวัลตามผลงาน การติดตามประเมินผล และ การทบทวนยุทธศาสตร์

  26. ระบบการบริหารราชการแผ่นดินเชิงยุทธศาสตร์ระบบการบริหารราชการแผ่นดินเชิงยุทธศาสตร์ Planning Measurement แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (๔ ปี) เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting

  27. Vision ............................................................................. Strategic Themes (Issues) ……… Values Strategy Map (logic model) Corporate Scorecard Action Plan Perspectives Objectives Measurement Targets Initiatives Budget Run the Business Financial ประสิทธิผล Serve the Customer Customer คุณภาพ Manage resources Internal work process ประสิทธิภาพ Build Capacity Learning & Growth พัฒนาองค์กร Business Unit Scorecard Team / Individual Scorecard

  28. มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร

  29. แบบฟอร์ม แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ระดับกระทรวง และกรม วิสัยทัศน์ ............................................................ • พันธกิจ • ๑. .............................................................. • ๒. .............................................................. • ๓. .............................................................. ค่านิยมองค์การ .................................................... นโยบายการกำกับดูแลองค์การ ………………………... ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • กลยุทธ์ • ........................ • ........................ • กลยุทธ์ • ........................ • ........................ • กลยุทธ์ • ........................ • ........................ • โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม ......................... • โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม ......................... • โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม .........................

  30. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  31. กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ มิติด้านการพัฒนาองค์การ (๒๐ %) มิติด้านประสิทธิผล (๕๐ %) ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/ พิเศษของรัฐบาล ความสำเร็จตามแผน ปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจ ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ ของกรม ๑๐ ๒๕ ๑๕ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (15 %) การป้องกันการทุจริตในการปฏิบัติราชการ ความพึงพอใจ ๙ ๖ มิติด้านประสิทธิภาพ (15 %) การบริหารงบประมาณและจัดทำต้นทุนต่อหน่วย มาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การพัฒนากฎหมาย ๕ ๓ ๕ ๒ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๒๐ 34 34 34

  32. กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของส่วนราชการ 35

  33. กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของส่วนราชการ 36

  34. กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของส่วนราชการ 37

  35. ระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์(Result-based Management System) Balanced Scorecard Individual Scorecard การถ่ายทอดยุทธศาสตร์และเป้าหมายขององค์การสู่ระดับต่างๆ จนถึงระดับตัวบุคคล

  36. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของ ตร. เป้าหมายขององค์การ ตร. ระดับกองบัญชาการ/ภาค ระดับกรม ระดับกองบังคับการ/จว. ระดับสำนัก / กอง สน./ระดับบุคคล เป้าหมายของ บุคลากรในองค์การ

  37. การดำเนินการจัดทำตัวชี้วัดที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง (Joint KPIs) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔จำนวน ๙ ยุทธศาสตร์

  38. ตร. มหาดไทย คมนาคม ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์อุบัติเหตุทางถนน ตัวชี้วัดที่ ๓.๑.๔อัตราส่วนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกต่อจำนวนประชากรแสนคน (ตร.) ที่มา : รายงานผลการดำเนินการ รอบ 9 เดือน

  39. มหาดไทย สาธารณสุข ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์ยาเสพติด ตร. กลาโหม ตัวชี้วัดที่๓.๑.๙ปริมาณยาเสพติดที่จับกุมได้เพิ่มขึ้น(ร้อยละ) (ตร.) ยุติธรรม

  40. มหาดไทย สาธารณสุข ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์ยาเสพติด ตร. กลาโหม ตัวชี้วัดที่๓.๑.๙ปริมาณยาเสพติดที่จับกุมได้เพิ่มขึ้น(ร้อยละ) (ตร.) ยุติธรรม

  41. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์ยาเสพติด ตัวชี้วัดที่๓.๑.๙.๑เมธแอมเฟตามิน ไอซ์ ตัวชี้วัดที่๓.๑.๙.๒กัญชา เฮโรอีน คลับดรักซ์(โคเคน เคตามีน เอกซ์ตาซี่)

  42. ตร. มหาดไทย กลาโหม กอ.รมน. ยุติธรรม สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน ตัวชี้วัดที่ ๓.๑.๑๕ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลด เหตุการณ์ก่อความไม่สงบในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ตร.)

  43. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน ตัวชี้วัดที่๓.๑.๑๕.๑ร้อยละที่ลดลงของจำนวนเหตุการณ์ก่อความไม่สงบที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตัวชี้วัดที่๓.๑.๑๕.๒ร้อยละที่ลดลงของจำนวนประชาชนเสียชีวิตจากเหตุการณ์ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

  44. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดร่วม (Joint KPIs) ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน ตัวชี้วัดที่๓.๑.๑๕.๓ร้อยละที่ลดลงของจำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ก่อความไม่สงบในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้

  45. การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการจัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน เหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ และสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ มาตรา ๗๘ (๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๕๓/๑ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จำนวนและวิธีการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว มาตรา 55/1 มาตรา ๕๓/๒ ให้นำความในมาตรา ๕๓/๑มาใช้บังคับกับการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้วยโดยอนุโลม ในจังหวัดหนึ่งนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.ธ.จ.” ทำหน้าที่สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและเป็นไปตามหลักการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๓/๑ มาตรา ๕๕/๑

  46. เกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ การนำองค์กร ผลลัพธ์ การดำเนินการ การให้ความสำคัญต่อ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการกระบวนการ การวัด การวิเดราะห์ และการจัดการความรู้

  47. PMQA สำนักงานตำรวจแห่งชาติ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (137 กรม, 75 จังหวัด, 12 สถาบันอุดมศึกษา) 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ ผลการดำเนินการ: การตรวจประเมินผลตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • ผลคะแนนรายหัวข้อของส่วนราชการระดับ กรม จังหวัด และสถาบันอุดมศึกษา หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (84 กรม) 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการฯ 3.2 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการฯ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (8 กรม, 75 จังหวัด, 1 สถาบันอุดมศึกษา) 4.1การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลฯ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (2 กรม , 10 สถาบันอุดมศึกษา) 5.1การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากรฯ 5.2 การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ หมวด 1 การนำองค์การ(99 กรม, 75 จังหวัด 1.1 การนำองค์การ , 12 สถาบันอุดมศึกษา) 1.2 ธรรมภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (54 กรม 2.1 การวางยุทธศาสตร์ , 2 สถาบันอุดมศึกษา) 2.2 การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์ เพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (27 กรม, 11 สถาบันอุดมศึกษา) 6.1 การออกแบบกระบวนการ 6.2 การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการ

More Related