1 / 15

การประเมินความคุ้มค่า การ ปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ

การประเมินความคุ้มค่า การ ปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ. KM กองแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดย กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน กองแผนงาน. เนื้อหาการบรรยาย. 1. ความเป็นมา 2. ความหมาย 3. วัตถุประสงค์ของการประเมินความคุ้มค่า 4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า 5. กรอบการประเมินความคุ้มค่า

Download Presentation

การประเมินความคุ้มค่า การ ปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของภาครัฐการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ KM กองแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดย กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน กองแผนงาน

  2. เนื้อหาการบรรยาย 1. ความเป็นมา 2. ความหมาย 3. วัตถุประสงค์ของการประเมินความคุ้มค่า 4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า 5. กรอบการประเมินความคุ้มค่า 6. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่า 7. ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินความคุ้มค่า 8. ตัวอย่างการวิเคราะห์ กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน

  3. 1. ความเป็นมา • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กำหนดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐในมาตราที่ 22 • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • * สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณ * ปัจจุบัน การประเมินความคุ้มค่าเป็นส่วนหนึ่งที่รวมอยู่ในการประเมิน PART ในหมด จ การประเมินผลในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ • การดำเนินงาน * นำร่อง ปี พ.ศ. 2550 ในกลุ่ม 3 กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง อุตสาหกรรม และกระทรวงสาธารณสุข * ขยายผลครอบคลุมทุกกระทรวงปี พ.ศ. 2552 และกรมชลประทานได้เลือกผลผลิตการจัดการน้ำชลประทานเพื่อนำร่อง ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  4. 2. ความหมาย • การประเมินความคุ้มค่า (Value for Money : VFM) หมายถึง การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ • ทั้งนี้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาจเป็นได้ทั้งผลสำเร็จที่พึงประสงค์ และผลกระทบในทางลบที่เกิดขึ้นแก่ประชาชนและสังคม ทั้งที่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินได้ และไม่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินได้ ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  5. 3. วัตถุประสงค์ของการประเมินความคุ้มค่า • มุ่งให้ส่วนราชการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจด้วยตนเอง (Self-assessment) เพื่อ 1) ประเมินว่าการปฏิบัติภารกิจ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และได้ก่อให้เกิดผลประโยชน์ ต่อประชาชนและภาครัฐมากหรือน้อยกว่าค่าใช้จ่ายและผลเสียที่เกิดขึ้นเพียงใด • 2) เป็นข้อมูลสำหรับส่วนราชการในการทบทวนจัดลำดับความสำคัญในการเลือกปฏิบัติภารกิจ หรือเป็นข้อมูลสำหรับรัฐบาลเพื่อพิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติภารกิจ (Self-improvement) ให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น • 3) เป็นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป (Self-control) ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  6. 4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า 1) หน่วยของการประเมิน เป็นการประเมินภารกิจในระดับกรม แต่อย่างไรก็ตามหลักการประเมินสามารถประยุกต์ได้ ทั้งในระดับกรม กลุ่มภารกิจ หรือกระทรวง • 2) ภารกิจที่ต้องประเมิน ให้ความสำคัญเฉพาะภารกิจหลัก (Core Business) ของหน่วยงาน โดยหน่วยงานต้องเป็นผู้กำหนดด้วยตนเอง ประกอบด้วย • * ภารกิจหลักหรืองานหลัก • * ผลผลิตหลัก • * โครงการสำคัญเพื่อผลักดันภารกิจ ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  7. 5. กรอบการประเมินความคุ้มค่า www.themegallery.com

  8. (ต่อ) หมายเหตุ :ความคุ้มค่าไม่จำเป็นต้องลดต้นทุน (Cost) แต่เป็นการลงทุนเพื่อให้เกิดประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพชลประทานโดยลงทุนงานคันคูน้ำในเขตพื้นที่ชลประทาน www.themegallery.com

  9. ทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดและพิจารณาความสมบูรณ์ของข้อมูลทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดและพิจารณาความสมบูรณ์ของข้อมูล ทบทวนผลผลิตของหน่วยงาน กำหนดผลตอบแทนและค่าใช้จ่าย จัดทำข้อเสนอแนะจากการประเมินความคุ้มค่า สรุปผลการประเมินความคุ้มค่า 1 2 3 5 4 6. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่า www.themegallery.com

  10. 7. ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินความคุ้มค่า • ด้านยุทธศาสตร์/ความเชื่อมโยง * แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ * แผนการบริหารราชการแผ่นดิน * แผนยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ * แผนกลยุทธ์ของกรมชลประทาน • ด้านข้อมูลองค์กร • * โครงสร้างองค์กร อัตรากำลังขององค์กร และงบประมาณรายจ่ายประจำปี • ด้านการวิเคราะห์ • * การวิเคราะห์ทางการเงิน และการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  11. 7.1 การวิเคราะห์ด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์(ด้านประสิทธิผล) www.themegallery.com

  12. (ต่อ) n (Bt-Ct) ∑ (1+r)t t=1 www.themegallery.com

  13. (ต่อ) n n Ct (Bt-Ct) ∑ ∑ (1+r)t (1+r)t t=1 t=1 หมายเหตุ : 1. ให้ความสำคัญการตั้งสมมุติฐานในการวิเคราะห์ เช่น การกำหนดต้นทุนผลประโยชน์มีความครอบคลุมและสอดคล้องกับข้อเท็จจริงอย่างไร 2.อัตราคิดลดที่ใช้ (โครงการของภาครัฐ สศช. กำหนดไว้ที่ร้อยละ 9-12) www.themegallery.com

  14. (ต่อ ตัวอย่างการพิจารณาผลการวิเคราะห์) หมายเหตุ : กำหนดอายุโครงการ 20 ปี อัตราคิดลดร้อยละ 12 www.themegallery.com

  15. ขอบคุณค่ะ

More Related