1 / 67

พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551

พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551. บริษัทประกันชีวิต บุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประกันชีวิต ตัวแทนประกันชีวิต นายหน้าประกันชีวิต นักคณิตศาสตร์ประกันภัย กองทุนประกันชีวิต การบังคับใช้กฎหมายทางอาญา และทางปกครอง. 2. หลักทรัพย์ประกัน. บริษัทประกันชีวิต

Download Presentation

พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 • บริษัทประกันชีวิต • บุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประกันชีวิต ตัวแทนประกันชีวิตนายหน้าประกันชีวิต นักคณิตศาสตร์ประกันภัย • กองทุนประกันชีวิต การบังคับใช้กฎหมายทางอาญา และทางปกครอง 2

  2. หลักทรัพย์ประกัน • บริษัทประกันชีวิต บริษัทต้องมีหลักทรัพย์วางไว้กับนายทะเบียน ไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท 3 3

  3. การดำรงเงินกองทุนก่อน 1 ก.ย. 2554 เงินกองทุน : ทรัพย์สินส่วนที่เกินกว่าหนี้สินตามราคาประเมิน บริษัทประกันชีวิต: ไม่น้อยกว่า 2% ของเงินสำรองแต่ไม่ต่ำกว่า 50 ล้านบาท 4 4

  4. การดำรงเงินกองทุนหลัง 1 ก.ย. 54 เงินกองทุน : ดำรงเงินกองทุนตามความเสี่ยง 4 ประเภท 1. ความเสี่ยงจากการรับประกันภัย 2. ความเสี่ยงด้านตลาด 3. ความเสี่ยงด้านเครดิต 4. ความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว 5 5

  5. บริษัทดำรงเงินกองทุนไม่ครบถ้วนบริษัทดำรงเงินกองทุนไม่ครบถ้วน • บริษัทต้องเสนอโครงการเพื่อแก้ไขฐานะเงินกองทุน • ระหว่างดำเนินการตามโครงการ ห้ามบริษัทขยายธุรกิจ 6

  6. การรับประกันภัยรายใหม่ ขยายวงเงินรับประกันภัยเดิม การเพิ่มความเสี่ยงในการลงทุน การก่อภาระผูกพันเพิ่มเติม การทำสัญญาแต่งตั้งตัวแทนประกันภัย/นายหน้าประกันภัยเพิ่มเติม การรับโอนกิจการของบริษัท (กรณีใดเป็นการเพิ่มความเสี่ยง ก่อภาระผูกพันเพิ่ม เป็นไปตามที่นายทะเบียนกำหนด) มาตรา 27/6 ความหมายของการขยายธุรกิจ 7 7

  7. เงินสำรองประกันภัย (ชีวิต) (1) บริษัทต้องจัดสรรเบี้ยประกันภัยไว้เป็นเงินสำรอง ประกันภัย สำหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีความ ผูกพันอยู่ (มาตรา 23) (2) บริษัทต้องนำ 25% ของเงินสำรองตาม (1) หลังจากหักจำนวนเงินให้กู้ยืมโดยมีกรมธรรม์ ประกันภัยเป็นประกันวางไว้กับนายทะเบียน 8

  8. ฝากเงินสำรอง...ไว้กับสถาบันการเงินฝากเงินสำรอง...ไว้กับสถาบันการเงิน • ให้บริษัทจัดสรรสินทรัพย์ไว้สำหรับหนี้สินและ ภาระผูกพันตามสัญญาประกันชีวิต มาตรา 27/4 ว.1 • ให้บริษัทนำเงินสำรองตามมาตรา 23 และสินทรัพย์ตาม มาตรา 27/4 ว.1...ฝากกับสถาบันการเงิน มาตรา 27/4 ว.2 • ห้ามบริษัทนำสินทรัพย์ไปก่อภาระผูกพัน มาตรา 27/4 ว.3 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท มาตรา 94/1

  9. การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นการลงทุนประกอบธุรกิจอื่น • นอกจากการประกันชีวิตบริษัทจะลงทุน ประกอบธุรกิจอื่นใด ได้เฉพาะที่คณะกรรมการกำหนด มาตรา 28 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93 • บทกำหนดโทษกรรมการกรณีบริษัทจงใจกระทำความผิด กรรมการหรือบุคคลใด จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท มาตรา 114

  10. กรมธรรม์ประกันภัย • กรมธรรม์ประกันภัยที่บริษัทออกให้แก่ผู้เอาประกันภัย ต้องเป็นไปตามแบบและข้อความที่นายทะเบียนได้ให้ความ เห็นชอบ มาตรา 29 • อัตราเบี้ยประกันภัยที่บริษัทกำหนด จะต้องได้รับความ เห็นชอบจากนายทะเบียน มาตรา 30 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท มาตรา 95

  11. ห้ามบริษัทมิให้กระทำการห้ามบริษัทมิให้กระทำการ • ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย • ลดทุน • ฝากเงินไว้ที่อื่นนอกจากธนาคาร บริษัทเงินทุนหรือบริษัทหลักทรัพย์ • เก็บเงินสดไว้ที่อื่น นอกจากสำนักงาน... • จ่ายเงินตอบแทนกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา พนักงาน เพื่อเป็น ค่านายหน้าหรือค่าตอบแทน...เว้นแต่เป็นการจ่ายบำเหน็จ เงินเดือน โบนัส เงินที่พึงจ่ายตามปกติ • จ่ายเงินให้ตัวแทน-นายหน้านอกจากเงินค่าจ้างหรือบำเหน็จที่พึงจ่าย ตามปกติ

  12. ห้ามบริษัทมิให้กระทำการห้ามบริษัทมิให้กระทำการ • จ่ายเงินล่วงหน้าค่านายหน้าหรือตอบแทนงานที่จะทำให้บริษัท • จ่ายบำเหน็จให้ผู้ที่ไม่ใช่ตัวแทน นายหน้า • ซื้อหรือมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยไม่ได้รับอนุญาต • ให้ประโยชน์พิเศษแก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ นอกเหนือจากที่กำหนดในกรมธรรม์ • รับชำระเบี้ยประกันภัยต่ำกว่าจำนวนที่ต้องชำระ • มอบหมายผู้ที่ไม่ใช่ตัวแทน-นายหน้า รับชำระเบี้ยประกันภัย

  13. ห้ามบริษัทมิให้กระทำการห้ามบริษัทมิให้กระทำการ • ออกกรมธรรม์ประกันภัยโดยไม่มีลายมือชื่อกรรมการและ ไม่ประทับตรา • โฆษณาจูงใจเป็นเท็จหรือเกินความจริง • ตั้งหรือมอบหมายผู้ที่ไม่ใช่ตัวแทน กรรมการ พนักงานลูกจ้าง ไปชักชวนหรือจัดการให้บุคคลทำสัญญาประกันภัย มาตรา 33 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93

  14. จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์จำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ • บริษัทต้องจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้ หรือ ได้มาจากการรับชำระหนี้หรือบังคับจำนอง ภายในห้าปี มาตรา 34 • ห้ามมิให้บริษัทมอบหมายหรือยินยอมให้บุคคลใดรับประกันชีวิต โดยใช้กรมธรรม์ของบริษัท หรือชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มาตรา 30 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93

  15. การจัดทำสมุดทะเบียน/บัญชีการจัดทำสมุดทะเบียน/บัญชี • ให้บริษัทจัดทำสมุดทะเบียน/บัญชี ต้องจัดทำและยื่น งบการเงินรายไตรมาส งบการเงินสำหรับรอบปีปฏิทิน รายงานประจำปี ยื่นรายงานหรือเอกสารเกี่ยวกับการประกอบ ธุรกิจ มาตรา 40 43 45 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินห้าพันบาท มาตรา 98

  16. บทกำหนดโทษกรรมการ • กรณีบริษัทจงใจกระทำความผิดเพราะฝ่าฝืนมาตรา 23 28 36 • บทกำหนดโทษกรรมการหรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการ ดำเนินการของบริษัท จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท มาตรา 114

  17. อำนาจนายทะเบียน/พนักงานเจ้าหน้าที่อำนาจนายทะเบียน/พนักงานเจ้าหน้าที่ ให้นายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตรวจสอบ กิจการและฐานะการเงินของบริษัท และเพื่อประโยชน์ในการ ตรวจสอบ ให้นายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ สั่งให้บริษัทหรือผู้เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทส่งเอกสารหลักฐาน เรียกบุคคล...มาให้ถ้อยคำหรือจะสั่งให้บุคคลดังกล่าวยื่นคำชี้แจง แสดงข้อเท็จจริงตามที่ต้องการก็ได้ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแก่นายทะเบียนหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่...หรือฝ่าฝืนคำสั่ง...ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 48

  18. การพิจารณาข้อร้องเรียนและไกล่เกลี่ยการพิจารณาข้อร้องเรียนและไกล่เกลี่ย ในกรณีที่มีการร้องเรียน การจ่ายค่าสินไหมทดแทน การชดใช้เงิน หรือประโยชน์ ตามกรมธรรม์ประกันภัย นายทะเบียนอาจจัดให้มีการพิจารณาข้อร้องเรียน และดำเนินการ ไกล่เกลี่ย (ระเบียบ สำนักงาน คปภ.) มาตรา 37/1

  19. ประวิงการใช้เงิน ห้ามมิให้บริษัท -ประวิงการใช้เงิน -ประวิงการคืนเบี้ยประกันภัยไม่มีเหตุผลอันสมควร จ่ายหรือคืนโดยไม่สุจริต แก่ผู้เอาประกันภัย/ผู้รับประโยชน์ มาตรา 37 วรรคหนึ่ง

  20. ประวิงการใช้เงิน การกระทำหรือการปฏิบัติใดๆ ของบริษัทที่จะถือเป็นการฝ่าฝืน ตามวรรคหนึ่ง (มาตรา 37 วรรคสอง) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ กำหนด -ประกาศกระทรวงฯ ลงวันที่ 4 มกราคม 2548

  21. ประวิงการใช้เงินตามสัญญาประกันชีวิตประวิงการใช้เงินตามสัญญาประกันชีวิต ประกาศกระทรวงฯ ลงวันที่ 4 มกราคม 2548 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาที่ถือว่าเป็นการประวิงการใช้ เงินหรือประวิงการคืนเบี้ยประกันภัยของบริษัทประกันชีวิต มีหลักตาม ข้อ 2 ของประกาศฯ จำนวน 9 ข้อ แบ่งพิจารณาเป็น 2 กลุ่ม -กลุ่ม 1 พิจารณาจากการกระทำของบริษัทโดยตรง -กลุ่ม 2 พิจารณาการกระทำของบริษัทผ่านหน่วยงานหรือ กระบวนการการพิจารณาของหน่วยงานอื่นประกอบ

  22. บอกล้างสัญญาประกันชีวิตบอกล้างสัญญาประกันชีวิต ข้อ 2 (1) บริษัทบอกล้างสัญญาประกันชีวิตตามมาตรา 865 โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือไม่มีพยานเอกสารและหลักฐานแสดงให้เห็นว่า ผู้เอาประกันภัยรู้อยู่แล้วละเว้นเสียไม่เปิดเผยข้อความจริง หรือรู้อยู่แล้วแถลงข้อความอันเป็นเท็จ

  23. เสนอใช้เงินต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัยเสนอใช้เงินต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย ข้อ 2 (3) บริษัทได้เสนอใช้เงินต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย ใช้ค่ารักษาพยาบาลต่ำกว่าที่เป็นจริง หรือต่ำกว่าที่กำหนดไว้ใน กรมธรรม์ประกันภัย โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ข้อ 2 (4) กรณีมีข้อตกลงหรือประนีประนอมยอมความ เกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะใช้ตามกรมธรรม์ประกันภัยหรือ จำนวนเบี้ยประกันภัยที่จะคืน บริษัทไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง หรือตามข้อประนีประนอมยอมความ

  24. กรณีร้องเรียน และมีคำวินิจฉัย ข้อ 2 (5) กรณีมีการร้องเรียน ได้มีคำวินิจฉัยให้บริษัทใช้เงิน...หรือคืนเบี้ย... บริษัทไม่ปฏิบัติตามคำวินิจฉัย และไม่โต้แย้งคำวินิจฉัยภายในกำหนดสิบห้าวัน ข้อ 2 (6) บริษัทโต้แย้งคำวินิจฉัยภายในกำหนดสิบห้าวัน นำข้อร้องเรียนไปฟ้องคดีต่อศาล ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นที่โต้แย้งกันให้บริษัทใช้เงิน หรือคืนเบี้ยประกันภัย

  25. กรณีสํญญา..มีหน้าที่ต้องชดใช้เงินกรณีสํญญา..มีหน้าที่ต้องชดใช้เงิน ข้อ 2 (7) กรณีสัญญาประกันภัย ข้อกำหนด หรือกฎเกณฑ์ใด ที่ออกโดย อาศัยอำนาจตามกฎหมายกำหนดชัดแจ้งว่าให้บริษัทมีหน้าที่ ชดใช้เงิน..คืนเบี้ย...หรือดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด บริษัทปฏิเสธ เป็นเหตุให้ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ ผู้เกี่ยวข้อง ร้องเรียน... นำข้อพิพาทสู่วิธีการอนุญาโตตุลาการหรือฟ้องคดีต่อศาล

  26. ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด ข้อ 2 (8) กรณีศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด ให้บริษัทใช้เงิน...หรือคืนเบี้ย... บริษัทไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษา จนพ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ ใน คำบังคับ ข้อ 2 (9) กรณีที่อนุญาโตตุลาการมีคำชี้ขาด ให้บริษัทใช้เงิน...หรือคืนเบี้ย... บริษัทไม่ปฏิบัติตามคำชี้ขาด... จนพ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ ในคำชี้ขาด

  27. บทกำหนดโทษ มาตรา 93 บริษัทใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าแสนบาท กรณีการกระทำความผิดต่อเนื่อง ให้ปรับอีกไม่เกินวันละ สองหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่

  28. คำสั่งนายทะเบียน และการควบคุมบริษัท • เมื่อปรากฎหลักฐานต่อนายทะเบียนว่าบริษัทใดมีฐานะ หรือการดำเนินการอยู่ในลักษณะอันอาจเป็นเหตุให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้เอาประกันภัยหรือประชาชน นายทะเบียน ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้บริษัทนั้น แก้ไขฐานะหรือการดำเนินการดังกล่าวภายในเวลาที่กำหนด มาตรา 53 กรณีไม่ดีขึ้น รัฐมนตรีจะสั่งให้มีการควบคุม บริษัทนั้น มาตรา 55 • บทกำหนดโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ความผิดต่อเนื่อง ปรับวันละไม่เกินสองหมื่นบาท มาตรา 93

  29. การเพิกถอนใบอนุญาต • รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย เมื่อปรากฏแก่รัฐมนตรีว่าบริษัท 1. มีหนี้สินเกินกว่าทรัพย์สิน 2. ฝ่าฝืนบทบัญญัติ 3. หยุดประกอบธุรกิจ 4. ประวิงการใช้เงิน 5. ประกอบธุรกิจต่อไป...จะทำให้เกิดความเสียหาย • มาตรา 64

  30. อายุความ ความผิดตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่มีโทษปรับ สถานเดียว ถ้ามิได้ฟ้องต่อศาลหรือมิได้มีการเปรียบเทียบ... ภายในห้าปีนับแต่วันกระทำความผิดเป็นอันขาดอายุความ มาตรา 117/2

  31. หลักเกณฑ์กรณี...กระทำความผิดที่เปรียบเทียบได้หลักเกณฑ์กรณี...กระทำความผิดที่เปรียบเทียบได้ คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจ เปรียบเทียบได้ มีจำนวนสามคน คนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวน ทำการเปรียบเทียบ (เช่น ประวิงการจ่าย/ ฝ่าฝืนคำสั่งนายทะเบียน) ได้ชำระค่าปรับแล้ว คดีเลิกกัน มาตรา 117

  32. แนวทางการตรวจสอบฐานะ การดำเนินการของบริษัท นายทะเบียนมีอำนาจสั่งให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานให้ประชาชนทราบ (มาตรา 46/1) สำนักงาน คปภ. มีอำนาจประกาศโฆษณา การฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายของบริษัท ตัวแทนประกันภัย นายหน้าประกันภัย นักคณิตศาสตร์ ให้ประชาชนได้รับรู้รับทราบ (มาตรา 117/2) 33 33

  33. การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทประกันภัยการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทประกันภัย

  34. การกำกับดูแลตัวแทน / นายหน้าประกันชีวิต • ตัวแทนประกันชีวิต : ผู้ซึ่งบริษัทมอบหมายให้ทำการชักชวนให้ บุคคลทำสัญญาประกันชีวิตกับบริษัท • นายหน้าประกันชีวิต : ผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทำสัญญา ประกันชีวิตกับบริษัท โดยกระทำเพื่อ บำเหน็จจากการนั้น 36 36

  35. คุณสมบัติตัวแทนประกันชีวิตคุณสมบัติตัวแทนประกันชีวิต (1)บรรลุนิติภาวะ (2)มีภูมิลำเนาในประเทศไทย (3) ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (4) ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทำโดยทุจริต เว้นแต่ได้พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต (5) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (6)ไม่เป็นนายหน้าประกันภัย (7) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันภัย หรือใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันภัย ในระยะเวลาห้าปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต (8)ได้รับการศึกษาวิชาประกันภัยจากสถาบันการศึกษาที่คณะกรรมการประกาศกำหนดหรือสอบความรู้เกี่ยวกับการประกันชีวิตได้ตามหลักสูตรและวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกำหนด 37

  36. การกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิตการกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิต ขอใบอนุญาต/ต่ออายุใบอนุญาตต้องผ่านการอบรม (ม.70) บริษัทต้องร่วมรับผิดกับตัวแทนประกันชีวิตต่อความเสียหาย ที่ตัวแทนประกันชีวิตนั้นได้ก่อขึ้นจากการกระทำการเป็น ตัวแทนประกันชีวิตของบริษัท (ม.70/1) มีสิทธิรับชำระเบี้ยประกันภัยในนามของบริษัท (ม.71) แสดงใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิตทุกครั้งที่ชักชวน/ รับเบี้ย (ม.71/1) (ฝ่าฝืนโทษปรับไม่เกิน 30,000 บาท) 38 38

  37. การกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิตการกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิต หนังสือชักชวน ข้อความ ภาพโฆษณาเป็นส่วนหนึ่งของกรมธรรม์ประกันภัย หากขัด/แย้งกับกรมธรรม์ประกันภัยให้ตีความเป็นคุณแก่ผู้อาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ ห้ามใช้หนังสือชักชวน ข้อความ ภาพโฆษณาที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากบริษัท (ม.30/1) 39 39

  38. การกำกับดูแลตัวแทนประกันภัยการกำกับดูแลตัวแทนประกันภัย การนำหนังสือชักชวน ข้อความ ภาพโฆษณาที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากบริษัทไปใช้ บทกำหนดโทษ มาตรา 106/1 (1) ปรับไม่เกิน 30,000 บาท (2) หากการฝ่าฝืนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท หรือผู้เอาประกันภัย จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 40

  39. การกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิตการกำกับดูแลตัวแทนประกันชีวิต เสนอขาย ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คปภ. กำหนด (ม.70/2 ช.) ออกเอกสารการรับเงินของบริษัททุกครั้งที่รับชำระเบี้ยประกันภัย (ม.71/1) การใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่นายทะเบียนกำหนด (ม.19) 41 41

  40. การชักชวน/ชี้ช่องของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตการชักชวน/ชี้ช่องของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • ในการปฏิบัติหน้าที่ ตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตต้องไม่แสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ฝ่าฝืน นอกจากโทษตามประมวลกฎหมายอาญาแล้ว ยังเป็นเหตุให้นายทะเบียนมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้(ม.81) 42

  41. การเสนอขายกรมธรรม์ของบริษัทตามประกาศ คปภ. • การเสนอขายกรมธรรม์ผ่านตัวแทน/นายหน้าประกันภัย • การเสนอขายทางโทรศัพท์ • การเสนอขายกรมธรรม์ผ่านไปรษณีย์ (Direct mail) • การเสนอขายกรมธรรม์ผ่านธนาคาร (Bancassurance) • การเสนอขายกรมธรรม์วิธีอื่น • การฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศฉบับนี้ อาจเป็นเหตุให้ นายทะเบียนเพิกถอนใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิต 43

  42. ข้อกำหนดในการเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิตข้อกำหนดในการเสนอขายกรมธรรม์ประกันชีวิต • ห้ามชักชวนผู้เอาประกันภัยยกเลิกกรมธรรม์อื่น เพื่อมาซื้อกรมธรรม์ใหม่ • ห้ามใช้ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริง เพื่อหวังให้มีการทำประกันภัย • ห้ามให้คำแนะนำซึ่งอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด • อธิบายหลักการเปิดเผยความจริง และผลของการไม่เปิดเผยความจริงหรือการแถลงเท็จ 44

  43. วิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตวิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • แสดงตัว สังกัด พร้อมใบอนุญาต • แจ้งวัตถุว่าต้องการเสนอขายประกันชีวิต ห้ามใช้คำว่า “ฝากเงิน” • ยุติการเสนอขายทันที เมื่อผู้มุ่งหวังไม่ประสงค์จะซื้อประกันภัย • หากได้รับอนุญาตให้เสนอขายต้องอธิบายเกี่ยวกับกรมธรรม์ โดยใช้เอกสารประกอบการเสนอขายจากบริษัทเท่านั้น • แนะนำให้ผู้มุ่งหวังทำประกันภัยที่เหมาะกับความเสี่ยงและความสามารถในการชำระเบี้ยประกันภัย 45

  44. วิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตวิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • เมื่อผู้มุ่งหวังประสงค์จะซื้อประกันภัย ให้ผู้มุ่งหวังกรอกใบคำขอ เอาประกันภัยด้วยตนเอง เว้นแต่ได้รับการร้องขอ ตัวแทน/นายหน้าจึงกรอกให้ได้ • ออกเอกสารการรับเงินของบริษัททุกครั้งที่รับเบี้ยประกันภัย • ส่งมอบเอกสารการเสนอขายที่ระบุชื่อผู้ขอเอาประกัน ที่ตัวแทน/นายหน้าลงลายมือของตนเรียบร้อยแล้ว • แจ้งระยะเวลาที่ผู้มุ่งหวังจะได้รับกรมธรรม์ 46

  45. วิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตวิธีการเสนอขายกรมธรรม์ของตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต • แจ้งเงื่อนไข FreeLook (15 วัน) ให้ผู้มุ่งหวังทราบ • ตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตต้องส่งคำขอเอาประกันชีวิต พร้อมเบี้ยประกันภัยไปยังบริษัทในโอกาสแรกที่กระทำได้ แต่ไม่เกินวันทำการถัดไป 47

  46. การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ • ต้องเป็นกรมธรรม์ที่ได้รับความเห็นชอบให้ขายทางโทรศัพท์เท่านั้น • ผู้เสนอขายต้องเป็นตัวแทน/นายหน้าที่ได้รับอนุญาตจากบริษัทให้ขายทางโทรศัพท์ • ห้ามเสนอขายแก่ผู้ที่เคยปฏิเสธการเสนอขาย เว้นแต่พ้นเวลาล่วงพ้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน • เสนอขายได้ระหว่างวันจันทร์ – วันเสาร์ เวลา 8.30-19.00 น. 48

  47. การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ • เมื่อโทรศัพท์ต้องแจ้งชื่อตัว ชื่อบริษัท เลขที่ใบอนุญาต และแจ้งทันทีประสงค์จะขายประกัน • ปฏิเสธ ยุติการสนทนาทันที แจ้งแหล่งที่มาของข้อมูล หากได้รับการซักถาม • ได้รับอนุญาตให้ขายกรมธรรม์ประกันภัย ต้องขอบันทึกเสียงสนทนา 49

  48. การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ • ในการเสนอขายต้องแนะนำให้ทำประกันให้เหมาะกับความเสี่ยงและความสามารถในการชำระเบี้ยประกันภัย โดยต้องอธิบายถึง - บริษัท - สรุปผลประโยชน์ ข้อยกเว้น - จำนวนเบี้ย ระยะเวลาชำระเบี้ย ระยะเวลาประกันภัย - วิธีชำระเบี้ยประกันภัย - แจ้งเงื่อนไข FreeLook (30 วัน) 50

  49. การเสนอขายทางโทรศัพท์การเสนอขายทางโทรศัพท์ ตอบตกลง • บันทึกชื่อ เลขประจำตัว • แจ้งการทำประกันให้บริษัททราบในโอกาสแรก (ไม่เกินวันทำการถัดไป) • แจ้งระยะเวลาที่จะได้รับกรมธรรม์ประกันภัย • ภายใน 7 วัน บริษัทต้องโทรศัพท์ไปขอคำยืนยันการทำประกันภัย แจ้งเงื่อนไข FreeLook (30 วัน) 51

More Related