1 / 34

ข้อเสนอแนะในการก้าวเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย ดร. อำนวย ถิฐาพันธ์

ข้อเสนอแนะในการก้าวเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย ดร. อำนวย ถิฐาพันธ์ ศาสตราจารย์ กรรมการคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองประธาน คณะกรรมการสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ทำไมต้องตำแหน่งทางวิชาการ ?.

Download Presentation

ข้อเสนอแนะในการก้าวเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย ดร. อำนวย ถิฐาพันธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อเสนอแนะในการก้าวเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการข้อเสนอแนะในการก้าวเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย ดร. อำนวย ถิฐาพันธ์ ศาสตราจารย์ กรรมการคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับตำแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองประธาน คณะกรรมการสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

  2. ทำไมต้องตำแหน่งทางวิชาการ ? • เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าตนเองได้มีการพัฒนาความรู้ทางวิชาการให้ก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา • แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ตัวเองปฏิบัติงานอยู่เป็นประจำ • เป็นครูแพทย์ที่ดี ผ่านการประเมินการเรียนการสอนมาด้วยแล้ว

  3. เงื่อนไขสำคัญ • ถ้าไม่ชอบระบบนี้ แนะนำให้ท่านเปลี่ยนงาน • ตำแหน่งวิชาการนี้ ได้มาจากการ “ตั้งใจ” ทำ ไม่ใช่ บังเอิญ แต่งตั้ง หรือส้มหล่น • ต้องวางแผน career path ให้ชัดเจน และสร้างบรรยากาศโดยรอบให้เหมาะสมในการบ่มฟัก สมเกียรติ ว้ฒนศิริชัยกุล

  4. ความสำเร็จของชีวิตนักวิชาการความสำเร็จของชีวิตนักวิชาการ • ต้อง (มีส่วน) ค้นพบสิ่งใหม่ๆ ก่อนอายุ 40 ปี • ต้องจับ (เรื่องเดียว) ไม่ปล่อย • ต้องทุ่มสุดตัว • ต้องอดทนรอวันนั้น แม้วันนี้...ไม่ใช่ของเรา

  5. การก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการการก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เตรียมใจ เตรียมตัว เตรียมงาน บรรจง มไหสวริยะ

  6. เตรียมใจ เข้าใจความหมาย เห็นด้วยกับวิธีการ ลดอคติ ให้ความสำคัญ กำหนดจุดหมาย สร้างความมุ่งมั่น

  7. เตรียมตัว จัดลำดับความสำคัญ แบ่งสรรเวลา ศึกษากฎระเบียบ เปรียบเทียบพวกพ้อง ลองถามผู้รู้ สู้ไม่รู้ถอย

  8. Julius Axelrod Born 30 May 1912 Died 29 December 2004 Nationality American Known for Catecholamine metabolism Notable award Nobel Prize in Physiology or Medicine in 1970 อำนวย ถิฐาพันธ์ ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สาขาวิชาเภสัชวิทยา

  9. The second most cited scientist of the last decade. Frank J. Gonzalez Chief, Laboratory of Metabolism, National Cancer Institute, National Institutes of Health, USA

  10. เตรียมงาน งาน : สื่อการสอน, งานวิจัย, สิ่งประดิษฐ์ ปริมาณ คุณภาพ

  11. ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ.2550 (ฉบับที่ 2)

  12. คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ในกรณีที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ดำรงตำแหน่งอาจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ผลการสอน มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษา และมีความชำนาญในการสอน และเสนอเอกสารประกอบการสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน ในกรณีที่ผู้ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการได้ทำการสอนหลายวิชา ซึ่งแต่ละวิชานั้นมีผู้สอนร่วมกันหลายคน จะต้องเสนอเอกสารประกอบการสอนในทุกหัวข้อที่ผู้ขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้สอน ซึ่งมีคุณภาพดีและได้ใช้ประกอบการสอนมาแล้ว โดยผ่านการประเมินจากคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของสถาบัน การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์

  13. ผลงานทางวิชาการ ประกอบด้วยผลงานต่อไปนี้ 1. ผลงานวิจัย ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ทำเป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ซึ่งมีคุณภาพดี และ 2. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หนังสือ หรือ บทความทางวิชาการซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

  14. การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ผลการสอน มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและ มีความชำนาญพิเศษในการสอน และเสนอ เอกสารคำสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน ในกรณีที่ผู้ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการได้ทำการสอนหลายวิชา ซึ่งแต่ละวิชานั้นมีผู้สอนร่วมกันหลายคน จะต้องเสนอ เอกสารคำสอน ในทุกหัวข้อที่ผู้ขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้สอน ซึ่งมีคุณภาพดีและได้ใช้ประกอบการสอนมาแล้ว โดยผ่านการประเมินจากคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของสถาบัน

  15. ผลงานทางวิชาการ ประกอบด้วยผลงานต่อไปนี้ 1. ผลงานวิจัยซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ทำเป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ซึ่งมีคุณภาพดี และ 2. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หนังสือ หรือ บทความทางวิชาการซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

  16. การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ผลการสอน มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษา และ มีความเชี่ยวชาญในการสอน โดยผ่านการประเมินจากคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของสถาบัน

  17. ผลงานทางวิชาการ ผู้ขออาจเสนอผลงานทางวิชาการได้ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1. ประกอบด้วยผลงานต่อไปนี้ 1.1 ผลงานวิจัย ซึ่งมีคุณภาพดีมาก และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ทำเป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ซึ่งมีคุณภาพดีมาก และ 1.2 ผลงานแต่งหรือหนังสือ ซึ่งมีคุณภาพดีมาก และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ทำเป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ

  18. วิธีที่ 2. ประกอบด้วยผลงานต่อไปนี้ 2.1 ผลงานวิจัย ซึ่งมีคุณภาพดีเด่น และได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ทำเป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ หรือ 2.2 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ซึ่งมีคุณภาพดีเด่น หรือ 2.3 ผลงานแต่งตำราหรือหนังสือ ซึ่งมีคุณภาพดีเด่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด ทั้งนี้ไม่นับงานวิจัยที่ทำเป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใดๆ

  19. ประมวลปัญหาที่พบในการพิจารณากลั่นกรองคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการของ ผู้เสนอขอกำหนดตำแหน่งศาสตราจารย์ ก่อนนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง สรุปได้ดังนี้ • การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิไม่ตรงกับสาขาวิชาที่เสนอขอ • การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิที่อยู่ในสังกัดเดียวกันกับผู้ขอ (ผู้เกษียณอายุ) โดยที่ในบัญชีรายชื่ออาจมีผู้ทรงคุณวุฒิในสังกัดอื่นๆ อีก • การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด • การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการโดยแหล่งเผยแพร่ที่ไม่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ เช่น บริษัทรับจ้างพิมพ์เอกสาร แหล่งข้อมูล สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (มกราคม 2552)

  20. ปัญหาในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของชาว มอ. ที่พบบ่อย ผลงานวิจัย 1. การเผยแพร่ผลงานในที่ประชุมสัมมนาเป็น proceedings ในวารสารที่เป็นแบบ in-house journals ไม่มี impact factor (หรือที่รู้จักกันว่า local journals) ทำให้ผลงานขาดการกลั่นกรองจากกองบรรณาธิการที่ดี หรือไม่มี peer review 2. สัดส่วนของผู้ขอรับการประเมินกับผู้ร่วมงานไม่ตรงกับความเป็นจริง มีการปรับเปลี่ยนสัดส่วนของส่วนแบ่งในแต่ละผลงาน 3. งานวิจัยมีระเบียบวิธีถูกต้อง แต่ยังไม่นำมาซึ่งความรู้ใหม่ที่ลึกซึ้งทางวิชาการ หรือได้องค์ความรู้ใหม่ 4. งานวิจัยเป็นงานที่ไม่ตรงกับสาขาวิชาที่ขอกำหนดตำแหน่ง

  21. ปัญหาในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของชาว มอ. ที่พบบ่อย (ต่อ) 5. การวิจัยมีวิธีการหรือขั้นตอนที่ไม่ถูกต้อง ไม่รัดกุม รวมทั้งการเก็บข้อมูลก็ไม่เป็นไปตามหลักวิธีการวิจัยที่ดี 6. ผลงานวิจัยขาดความทันสมัย 7. ผลงานวิจัยไม่เป็นต้นแบบที่ดี เรื่องซ้ำซ้อนกับที่เคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว 8. เป็น “me too” research ซึ่งไม่ได้ให้ความรู้เพิ่มเติม

  22. ปัญหาในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของชาว มอ. ที่พบบ่อย (ต่อ) ตำรา/หนังสือ • การเขียนขาดหรือไม่ถูกต้องตามรูปแบบของหนังสือ/ตำรา คือไม่มีดัชนีสืบค้น หรือถ้ามีก็มีไม่ครบถ้วน ไม่ขออนุญาตอ้างอิงการใช้รูปภาพจากผู้เขียนต้นแบบ ไม่มีชื่อแหล่งพิมพ์ สำนักพิมพ์ และปีที่พิมพ์ เป็นต้น • ขาดการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลอย่างชัดเจนในศาสตร์ของตัวเอง • ไม่ได้ใช้ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ หรืองานวิจัยของตนเองสอดแทรก • ปริมาณงานในแต่ละบทสั้นหรือห้วนเกินไป จนไม่สื่อความหมายที่ดี • ขาดจริยธรรม คือลอกผลงานของผู้อื่น • ด้อยในจริยธรรม รูป ตาราง ที่ลอกมา ไม่ได้อ้างอิงหรือขออนุญาตจากแหล่งที่มา

  23. 5.1.4จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ (1) ต้องมีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนและไม่ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น รวมทั้งไม่นำผลงานของตนเองในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่าหนึ่งฉบับ ในลักษณะที่จะทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ (2) ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในผลงานทางวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้า (3) ต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นและสิทธิมนุษยชน (4) ผลงานทางวิชาการต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้อง และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่จงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวังผลประโยชน์ส่วนตัว หรือต้องการสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่ขยายข้อค้นพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ (5) ต้องนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

  24. ข้อแนะนำ • งานวิจัย ตำรา ต้องการทักษะ และ ความต่อเนื่อง • เริ่มไวได้เปรียบ ทุกขั้นตอน • หาต้นแบบที่ดี เพื่อไม่หลงทาง และถึงจุดหมายรวดเร็ว • ทำงานเป็นทีม ได้เปรียบทุกด้าน • ความฮึกเหิม ความทน ลดลงตามวัย • งานนอกวิชาการมากขึ้นตามวัย และเลี่ยงยาก • เงื่อนเวลามีผลต่อคุณค่างานวิชาการ • สร้างเส้นทางของตนให้ชัด ไม่สะเปะสะปะ

  25. คุณสมบัติบุคคลเพื่อประกอบการพิจารณาคุณสมบัติบุคคลเพื่อประกอบการพิจารณา ข้อมูลทั่วไป • ประวัติส่วนตัว • ระยะเวลารับราชการ / ทำงาน / ดำรงตำแหน่ง • ประสบการณ์การทำงาน / การอบรมดูงาน • อัตราเงินเดือน คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง - คุณวุฒิถึงข้อกำหนด + ระยะเวลาขั้นต่ำในการขอรับการประเมิน ผศ. (ป.ตรี 9 ปี, ป.โท 5 ปี, ป.เอก 2 ปี), รศ. (ผศ. 3 ปี), ศ. (รศ. 2 ปี)

  26. วิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล (เกณฑ์ ก.พ.อ) - ประเมินผลการสอน: มี ชั่วโมงสอนประจำวิชา + เอกสารประกอบการสอนหรือเอกสารคำสอน • ประเมินผลงานทางวิชาการ: มี งานวิจัย/ งานวิชาการลักษณะอื่น + งานตำรา/ หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ • ต้องคำนึงถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ (5 ข้อ) • ต้องซื่อสัตย์/ ไม่ copy งานคนอื่น/ พิมพ์งานเรื่องเดียวกันเผยแพร่ 2 แห่ง • ต้องให้เกียรติอ้างถึงบุคคล/ แหล่งที่มาของข้อมูล • ต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์จนละเมิดสิทธิส่วนบุคคลและมนุษยชน • ผลงานใช้หลักวิชาการไม่มีอคติ/ เสนอดงานตามจริง ไม่เบี่ยงเบนผลเพื่อประโยชน์ส่วนตัว หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย/ เสนองานขยายผลปราศจากผลยืนยันทางวิชาการ • ต้องนำผลงานไปใช้ในทางชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

  27. รศ. ผศ. อ. การแต่งตั้งอาจารย์ประจำให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ กรณีมีเหตุผลและความจำเป็นอย่างยิ่ง มี 3 วิธี วิธีที่ 1 ข้ามตำแหน่ง รศ. หรือ ศ. อ. ผศ. ศ.

  28. ผศ. อ. คุณวุฒิปริญญาเอกดำรงตำแหน่งไม่ครบ 2 ปี วิธีที่ 2 คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งไม่ครบ รศ. ผศ. ดำรงตำแหน่งไม่ครบ 3 ปี ศ. รศ. ดำรงตำแหน่งไม่ครบ 2 ปี

  29. วิธีที่ 3 การขอตำแหน่งทางวิชาการในสาขาวิชา ที่แตกต่างจากสาขาวิชาเดิม ผศ. สาขาวิชาอายุรศาสตร์ รศ. สาขาวิชาอายุรศาสตร์ ศ. สาขาวิชาดุริยางคศิลป์

  30. วิธีการแต่งตั้งตำแหน่ง ผศ.และ รศ.วิธีพิเศษ • ผลงานทางวิชาการเหมือนวิธีปกติ • ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน • คุณภาพของผลงาน =ดีมาก • คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 ผลงานทางวิชาการต้องมีปริมาณและคุณภาพที่แสดงความเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น

  31. ตำแหน่ง ศ.วิธีพิเศษ • ผลงานทางวิชาการเหมือนวิธีปกติแบบที่ 1 • ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน • คุณภาพของผลงาน =ดีเด่น • คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 ผลงานทางวิชาการต้องมีปริมาณและคุณภาพที่ แสดงความเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น

  32. อย่าคิดว่าพ่ายแพ้อย่าอ่อนแอต่อทุกสิ่งอย่าหวาดหวั่นประวิงอย่าทอดทิ้งความตั้งใจอย่าคิดว่าพ่ายแพ้อย่าอ่อนแอต่อทุกสิ่งอย่าหวาดหวั่นประวิงอย่าทอดทิ้งความตั้งใจ คติพจน์เตือนใจ อำนวย ถิฐาพันธ์

  33. ขอให้โชคดีและมีสุข

More Related