1 / 16

โอกาสและความท้าทายของประเทศไทย กับการก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

โอกาสและความท้าทายของประเทศไทย กับการก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. นายภาษิต พุ่มชูศรี นักวิชาการพาณิชย์ 9 ชช. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน. 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA). 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS).

fairly
Download Presentation

โอกาสและความท้าทายของประเทศไทย กับการก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โอกาสและความท้าทายของประเทศไทยกับการก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโอกาสและความท้าทายของประเทศไทยกับการก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นายภาษิต พุ่มชูศรี นักวิชาการพาณิชย์ 9 ชช. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  2. กรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียนกรอบความร่วมมือด้านเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) 3. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) 4. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO)

  3. ASEAN Free Trade Area วัตถุประสงค์ 1. สร้างความสามารถใน การแข่งขันของสินค้าอาเซียน 2. ดึงดูดการลงทุนจากต่าง ประเทศ 3. สร้างอำนาจต่อรอง เป้าหมายหลัก 1. การขจัดภาษีสินค้า - สมาชิกเดิม ปีค.ศ. 2010 - สมาชิกใหม่ ปีค.ศ. 2015 2. ยกเลิกอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษีระหว่างกัน สินค้าที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ - อยู่ในแผนการลดภาษีของ ทั้งประเทศส่งออกและนำเข้า และลดภาษีลงต่ำกว่า 20% แล้ว - มีสัดส่วนการผลิตใน อาเซียนอย่างต่ำ 40% • สถานะการลดภาษีของไทยภายใต้อาฟตา • ปัจจุบัน ไทยได้นำสินค้าทุกรายการเข้ามาลดภาษีในอาฟตาครบทุกรายการ (11,030 รายการ) • - 11,020 รายการ มีอัตราภาษีอยู่ระหว่างร้อยละ 0-5 • - 10 รายการ (สินค้าอ่อนไหว) จำนวน 4 ชนิดสินค้า (กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ตัดดอก) รายละเอียดการลดภาษีและอัตราภาษีของสินค้าเข้าไปดูได้ที่“www.aseansec.org”

  4. AFAS ปี 2538 AIA ปี 2538 AICO ปี 2539 วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการเป็นผู้ให้บริการใน ภูมิภาค วัตถุประสงค์ เพื่อจัดตั้งเขตการลงทุนที่มี ศักยภาพในการแข่งขันและ สร้างบรรยากาศการลงทุน ที่เสรีและโปร่งใส วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการใช้วัตถุดิบ ร่วมกันในภูมิภาคและสร้าง ฐานอุตสาหกรรมที่มีขีด ความสามารถในการแข่งขัน แนวทาง เปิดเสรีการค้าบริการ ทั้งใน ทางลึกและกว้างให้มากกว่า ใน GATS แนวทาง เปิดเสรีการลงทุนทางตรง ไม่รวมถึงการลงทุนด้าน หลักทรัพย์และการลงทุนที่ อยู่ภายใต้ความตกลงอื่น แนวทาง ให้สิทธิประโยชน์ด้านภาษี สำหรับสินค้าที่ได้รับอนุมัติ ภายใต้โครงการ AICO เป้าหมายการเปิดเสรี - บริการ 4 สาขาสำคัญ (ท่องเที่ยว การบิน สุขภาพ และ ICT) ภายในปี 2010 สำหรับสาขาบริการอื่นๆ ภายใน ปี 2015 เป้าหมายการเปิดเสรีและ การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ - อาเซียนเดิมภายในปี 2010 - อาเซียนใหม่ภายในปี 2015 เป้าหมาย - สร้างความร่วมมือด้าน อุตสาหกรรมระหว่าง ประเทศสมาชิก เพื่อนำไปสู่ การเป็นฐานการผลิตร่วม

  5. ASEAN Economic Community AEC Single Market and Production base characteristic objective To create a stable, prosperous and highly competitive ASEAN economic region as outlined in Bali Concord II Free flow of goods services, investment, and skilled labour Freer flow of capital

  6. แนวทางดำเนินงานเพื่อนำไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Towards ASEAN Economic Community

  7. แนวทางการรวมกลุ่มแบบ sector-based approach • กำหนดสาขาสินค้าและบริการสำคัญ 11 สาขาที่จะเร่งรัดดำเนินการ (priority sectors) เพื่อเป็นการนำร่องการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ โดยการคัดเลือกสาขาดังกล่าวได้พิจารณาจากความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบในทรัพยากรธรรมชาติ แรงงานมีฝีมือ ต้นทุน และมูลค่าเพิ่มต่อเศรษฐกิจของอาเซียน

  8. Towards ASEAN Economic Community Sectoral base approach มาตรการสำคัญ 1. เร่งลดภาษีสินค้าสาขาสำคัญให้เร็วขึ้น 2. ขจัดมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี 3. ปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 4. ปรับประสานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 5. อำนวยความสะดวกด้านศุลกากร 6. ส่งเสริมการเปิดตลาดด้านการค้าบริการ 7. ส่งเสริมการเปิดตลาดด้านการลงทุน 8. อำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้าย บุคลากร 9. อำนวยความสะดวกด้านการเดินทาง ภายในภูมิภาค 11 Priority Integration Sectors

  9. การดำเนินงานในระยะต่อไปการดำเนินงานในระยะต่อไป 1. การจัดทำแผนงานเพื่อเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) 2. การยกร่างกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เป้าหมาย - เสนอให้ผู้นำอาเซียนพิจารณาในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 ในเดือนพฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์

  10. การจัดทำแผนงานเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการจัดทำแผนงานเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) • ทำไมต้องจัดทำ AEC Blueprint ? • เพื่อกำหนดทิศทาง/แผนงานในด้านเศรษฐกิจที่จะต้องดำเนินงานให้ชัดเจนตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด จนบรรลุเป้าหมาย AECในปี ค.ศ. 2015 • สร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกที่จะดำเนินการไปสู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ใน 4 ด้าน Single Market and production base High competitive economic region Equitable economic development Fully Integrated into global economy แผนงานที่จะส่งเสริมการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี โดยลด อุปสรรคในด้านต่างๆ แผนงานที่จะส่งขีดความ สามารถในด้านต่างๆ อาทิ นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา e-commerce ฯลฯ แผนงานที่จะส่งเสริมการ รวมกลุ่มของประเทศสมาชิก และลดช่องว่าง/ความ แตกต่างของระดับการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่ แผนงานที่จะส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับประชาคมโลก โดยการปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาคและสร้าง เครือข่ายการผลิต/จำหน่าย

  11. การยกร่างกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ทำไมต้องจัดทำ ASEAN Charter ? • เพื่อสร้างอาเซียนให้มีฐานะเป็นองค์กรระหว่างประเทศ (International Organization) และมีสถานะทางกฎหมายอย่างสมบูรณ์ • เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานไปสู่เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ได้อย่างเป็นรูปธรรม ประเด็นพิจารณาสำคัญ เป้าหมายของอาเซียน ในระยะยาว กลไกด้านสถาบัน/ กลไกการดำเนินงาน กระบวนการ ยุติข้อพิพาท - โครงสร้างองค์กร - รูปแบบ/กระบวนการตัดสินใจ - การลดช่องว่างระหว่าง ประเทศสมาชิก - ด้านการเมือง - ด้านเศรษฐกิจ - ด้านสังคม - กลไกการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิก - บทลงโทษ - กระบวนการชดเชย

  12. การเจรจาเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาการเจรจาเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา • นอกจากการเร่งรัดการรวมกลุ่มภายในของอาเซียนแล้ว ปัจจุบันอาเซียนยังอยู่ระหว่างการเจรจาจัดทำเขตการค้าเสรีกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย และ CER และอยู่ระหว่างการพิจารณาที่จะประกาศเริ่มต้นการเจรจากับสหภาพยุโรป • วัตถุประสงค์ เพื่อขยายตลาดการค้าและการลงทุน รวมทั้งสร้างอาเซียนให้เป็นศูนย์กลางในภูมิภาค CER China ASEAN ROK Japan India EU

  13. โอกาสของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจโอกาสของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ สร้างตลาดขนาดใหญ่ ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ เพิ่มอำนาจการต่อรอง - ประชากรกว่า 550 ล้านคน - ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ในภูมิภาค - สร้างความได้เปรียบในการ แข่งขัน - ส่งเสริม competitive advantage - การสร้างท่าทีร่วมในระดับ ภูมิภาค - สร้างความน่าสนใจและ ดึงดูดการค้า/การลงทุน - สร้างพันธมิตรร่วมในด้าน เศรษฐกิจทั้งในระดับภูมิภาค และอนุภูมิภาค การค้าของไทยกับอาเซียน ปี 2549 - ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง ของอาเซียน A S E A N กลุ่มที่มีความถนัดด้าน เทคโนโลยี Exp. ตลาดส่งออกอันดับ 1 มูลค่า 27,040 mil. US$ A S E A N WTO กลุ่มที่มีฐานการผลิต Regional Coop. Imp. แหล่นำเข้าลำดับสอง รองจากญี่ปุ่น มูลค่า 23,379 mil. US$ กลุ่มที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน FTA partners

  14. ความท้าทาย/แนวทางการปรับตัวจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจความท้าทาย/แนวทางการปรับตัวจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ภาคเอกชน ภาครัฐ • เร่งศึกษากฎเกณฑ์/ข้อตกลง • รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทาง • เศรษฐกิจ • - ใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลง • ต่างๆ อย่างเต็มที่ • - สร้างพันธมิตรทางธุรกิจ • - ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำธุรกิจ • ให้ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง • - เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน • กับภาครัฐอย่างใกล้ชิด • กำหนดทิศทางนโยบายด้าน • เศรษฐกิจที่ชัดเจน • เผยแพร่ความรู้/ความคืบหน้าการ • ดำเนินงานให้ภาคเอกชนรับทราบ • - ส่งเสริมมาตรการป้องกันฉุกเฉินและ • มีระบบเตือนภัยล่วงหน้าที่มี • ประสิทธิภาพ • - จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับ • ผลกระทบ

  15. Celebrating ASEAN’s 40th Anniversary “8 August 2007”

More Related