1 / 20

พ่อ = 100

การประเมินพันธุกรรมสัตว์จากค่าการผสมพันธุ์ ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 55+ ปุจฉา : ค่าการผสมพันธุ์คืออะไร ?. วิสัชนา : ตัวเลข หรือ ค่าทางสถิติ ที่สื่อถึงความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูก ยกตัวอย่างเช่น.

eze
Download Presentation

พ่อ = 100

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินพันธุกรรมสัตว์จากค่าการผสมพันธุ์ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้มภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. 55+ ปุจฉา: ค่าการผสมพันธุ์คืออะไร ? วิสัชนา: ตัวเลข หรือ ค่าทางสถิติ ที่สื่อถึงความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูกยกตัวอย่างเช่น พ่อ = 100 แม่ = 100 ลูก = 100

  3. P = G + E A + D + I EBV =การประมาณค่าการผสมพันธุ์ =Estimated Breeding Value

  4. ทำไมต้องประเมินค่าการผสมพันธุ์ทำไมต้องประเมินค่าการผสมพันธุ์ How much true EBV !  EBV = +  Genetic Statictics Math

  5. EBV ผลผลิตน้ำนมรายเดือน คุณภาพน้ำเชื้อ ผลผลิตไข่จากวันให้ไข่ฟองแรกจนกระทั่งหยุดไข่ ขนาดครอกของสุกรต่อครอก EBV มีค่าตั้งแต่ –infinity ถึง +infinity นะครับ น้ำหนักตัวรายเดือน ผลผลิตขนในแกะ

  6. ค่า EBV ที่วิเคราะห์ได้ในปัจจุบัน มาจากการคำนวณโดยใช้ข้อมูล 4 แหล่ง หลักๆดังนี้ครับ

  7. สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1: สัตว์มีข้อมูลเพียงบันทึกเดียว กรณีที่ 2: สัตว์มีข้อมูลหลายบันทึก การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากบันทึกตัวเอง เมื่อ = ค่าเฉลี่ยฝูง (herd average) = ค่าสังเกตเฉลี่ยจากสัตว์ที่ประเมิน = จำนวนค่าสังเกตจากสัตว์ที่ประเมิน = ค่าอัตราซ้ำของลักษณะ = ค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะ

  8. ตัวอย่าง:จากข้อมูลการผลิตน้ำนมของแม่โค A, B, Cกำหนดให้แม่โคฝูงนี้มีค่าเฉลี่ยน้ำนมเท่ากับ 1,150กก. และมีค่าอัตราซ้ำเท่ากับ 0.5และอัตราพันธุกรรมมีค่า 0.4จงประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของแม่โค สรุปแม่โค C ควรคัดเลือกไว้เป็นลำดับแรกเนื่องจากมีคุณค่าทางพันธุกรรมของลักษณะการให้นมสูงสุด • EBV (cow A)= = 1,190.0 กก./ระยะการให้นม • EBV (cow B)= = 1,195.05 กก./ระยะการให้นม • EBV (cow C)= = 1,209.52 กก./ระยะการให้นม

  9. สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1: มีข้อมูลบรรพบุรุษเพียงบันทึกเดียว กรณีที่ 2: มีข้อมูลบรรพบุรุษหลายบันทึก เมื่อ= ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์(relationship coefficient) การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากบรรพบุรุษ รุ่นทวด ความสัมพันธ์ 1/8 รุ่นปู่ย่าตายาย • พันธุ์ประวัติ หมายถึงการอาศัยข้อมูลบันทึกนับตั้งแต่ชั่วรุ่นพ่อแม่ย้อนกลับขึ้นไป • บรรพบุรุษชั่วที่อยู่ใกล้เช่นรุ่นพ่อแม่จะมีอิทธิพลของการถ่ายทอดมากกว่าชั่วที่อยู่ไกลออกไปเช่นรุ่นปู่ย่าตายาย ความสัมพันธ์ 1/4 รุ่นพ่อแม่ ความสัมพันธ์ 1/2 รุ่นลูก

  10. ตัวอย่าง: จงประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของการให้นมของลูกโคเพศผู้ตัวหนึ่งซึ่งมีแม่ให้นมมาแล้ว 3 ระยะการให้นมโดยมีนมเฉลี่ย 2,550 กก. กำหนดให้ค่าเฉลี่ยฝูงมีค่า 2,500 กก. ค่าอัตราพันธุกรรมมีค่า 0.3 และค่าอัตราซ้ำมีค่า 0.4 ค่า EBV ของลูกโคเพศผู้ตัวนี้เท่ากับ2,512.5 กก.ต่อระยะการให้นม

  11. สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1: มีข้อมูลญาติพี่น้องเพียงบันทึกเดียว • กรณีที่ 2: มีข้อมูลญาติพี่น้องหลายบันทึก • กรณีที่ 3: มีข้อมูลญาติพี่น้อง ร่วมกับ ข้อมูลตนเอง เมื่อ= ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์(relationship coefficient) การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากญาติพี่น้อง หมายถึง ญาติพี่น้องข้างเคียง (collateral relatives)ทั้งในรุ่นถัดไปข้างหน้าและรุ่นย้อนกลับไปซึ่งได้แก่ พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา หลาน เป็นต้น

  12. ตัวอย่าง:กำหนดให้น้ำหนักแรกเกิดเฉลี่ยของสุกรฝูงหนึ่งเท่ากับ 1.2 กก. จงคำนวณคุณค่าการผสมพันธุ์ของสุกรตัวหนึ่งที่มีข้อมูลบันทึกน้ำหนักแรกเกิดของพี่น้องจำนวน 6 ตัวซึ่งเกิดจากพ่อแม่เดียวกันมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.6 กก. กำหนดให้ค่าอัตราพันธุกรรมมีเท่ากับ 0.2, ค่าอัตราซ้ำเท่ากับ 0.3 และ ค่าความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างพี่น้องเท่ากับ 0.5 EBV = = 1.30กก.

  13. ตัวอย่าง:และหากสุกรตัวนี้มีน้ำหนักแรกเกิด 2.1กก. จงคำนวณคุณค่าการผสมพันธุ์จากบันทึกข้อมูลของพี่น้องรวมทั้งบันทึกข้อมูลของตัวเอง ค่าเฉลี่ยบันทึก= = 1.67 สังเกตว่าการใช้ข้อมูลพี่น้องเพียงอย่างเดียว (EBV = 1.30) มีค่าต่ำกว่าการใช้ข้อมูลร่วมหลายแหล่ง EBV = = 1.32กก.

  14. 2.Half sib สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ 1.Full sib กรณีที่ 1: มีข้อมูลลูกเพียงบันทึกเดียว • กรณีที่ 2: มีข้อมูลลูกหลายบันทึก การประเมินค่าการผสมพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากลูก • การประเมินโดยใช้ข้อมูลของลูกเป็นวิธีที่ใช้กันแพร่หลาย • โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประเมินเพื่อคัดเลือกพ่อพันธุ์

  15. ตัวอย่าง :จงประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของพ่อพันธุ์โคพันธุ์บราห์มันตัวหนึ่งซึ่งให้ลูกจำนวน 60 ตัว โดยมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักหย่านมของลูกเฉลี่ยเท่ากับ 190 กก. กำหนดให้น้ำหนักหย่านมเฉลี่ยของฝูงมีค่า 175 กก. และค่าอัตราพันธุกรรมมีค่า 0.4 EBV = = 189.20 กก.

  16. ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆ

  17. ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆ

  18. แนวทางการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าแนวทางการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่า • การผสมพันธุ์แบบต่างๆการคัดเลือกพันธุ์สัตว์

  19. ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆข้อได้เปรียบและข้อจำกัดในการเลือกใช้วิธีการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์แบบต่างๆ

  20. ตัวอย่างค่าการผสมพันธุ์ตัวอย่างค่าการผสมพันธุ์

More Related