1 / 32

การประชุมชี้แจงและซักซ้อมทำความเข้าใจ การตรวจราชการตามแบบตรวจราชการในระบบ e-Inspector

การประชุมชี้แจงและซักซ้อมทำความเข้าใจ การตรวจราชการตามแบบตรวจราชการในระบบ e-Inspector. พ.ต.อ. ปรีดา เปี่ยมวารี รอง ผบก. กต. 8 จต. อนุมัติ จตช. ให้ใช้แผนการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ 2557 โดยใช้ระบบ e-Inspector เป็นรูปแบบหนึ่งในการตรวจราชการ

Download Presentation

การประชุมชี้แจงและซักซ้อมทำความเข้าใจ การตรวจราชการตามแบบตรวจราชการในระบบ e-Inspector

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจงและซักซ้อมทำความเข้าใจ การตรวจราชการตามแบบตรวจราชการในระบบ e-Inspector พ.ต.อ.ปรีดา เปี่ยมวารี รอง ผบก. กต.8จต.

  2. อนุมัติ จตช. ให้ใช้แผนการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ 2557 โดยใช้ระบบ e-Inspector เป็นรูปแบบหนึ่งในการตรวจราชการ • ให้หน่วยปฏิบัติบันทึกข้อมูลผลการดำเนินการลงในแบบตรวจราชการ 1ตามแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายของผบ. ตร. 2แบบตรวจราชการ(แบบมืออาชีพ)

  3. ข้อดี • เป็นระบบที่ใช้งานง่าย เรียกดูข้อมูลได้ • โอกาสให้หน่วยนำเสนอผลการปฏิบัติงานแก่ผู้บังคับบัญชา สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆได้ทุกระยะและเรียกดูข้อมูลได้ตลอดเวลา • ผู้บังคับบัญชาสามารถเห็นผลการตรวจได้ตลอดเวลา • สามารถตรวจสอบประวัติการปฏิบัติงาน สถิติวิเคราะห์ • สร้างความพร้อมให้หน่วยงาน • ยกระดับมาตรฐานการให้บริการประชาชน • ส่งเสริมการนำเทคโนโลยี่มาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่

  4. ข้อเสีย • หน่วยงานรู้สึกว่าเป็นการเพิ่มภาระในการบันทึกข้อมูล • ลักษณะองค์กรตำรวจที่ซ้ำซ้อน อาจเกิดปัญหาความแตกต่างในพื้นที่และบุคลากรของหน่วย ซึ่งต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ • ระบบe-Inspector อาจไม่สะท้อนต่อผลการประเมินที่แสดงถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติของหน่วยได้ • ต้องผสมผสานกับการตรวจราชการแบบเดิมควบคู่ไปด้วย

  5. มีการประชุมเพื่อร่วมกันพิจารณาร่างข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข หลักเกณฑ์ แนวทางและวิธีการในการประเมินผลการดำเนินการตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน ประจำปี พ.ศ.2557 ที่ประชุมมีความเห็นให้แบบตรวจตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชนและแบบตรวจราชการของจเรตำรวจในระบบ e-Inspectorเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

  6. การตรวจราชการแบบ e-Inspector • ตรวจตามนโยบาย ผบ.ตร.50คะแนน • ตรวจความเป็นตำรวจมืออาชีพ 50คะแนน • ตรวจโดยจเรตำรวจ 50คะแนน บก.ตรวจให้คะแนน 15คะแนน บช.ตรวจให้คะแนน 15 คะแนน จต.ตรวจให้คะแนน 20 คะแนน

  7. ตร.ได้ร่วมกับหน่วยงานระดับบช.ทั้ง รองผบช. ผกก.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันประชุมเพื่อพิจารณาหาแนวทางในการดำเนินการเพื่อให้การดำเนินการในเรื่องการนำระบบ e-Inspectorและการดำเนินการตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชนมาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความเห็นว่า • จะมีการนำผลคะแนนจากการตรวจตามระบบ e-Inspectorจำนวน 25 คะแนน รวมกับผลคะแนนจากการตรวจประเมินผลตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน

  8. จต.ได้มีการพิจารณาปรับเกณฑ์วัดในแบบประเมินผลการตรวจราชการในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กโทรนิกส์ในระบบ e-Inspector

  9. สรุปผลการปฏิบัติงานในการบันทึกข้อมูลผ่านการสื่อสารโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Inspector • สถานีตำรวจที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามระบบในระดับ 2ดาวขึ้นไป ( 26คะแนนขึ้นไป )จำนวน 234สถานี คิดเป็น 15.98 % • สถานีตำรวจที่ยังได้รับการประเมินอยู่ในระดับต่ำกว่า 2ดาว (ตำกว่า 25คะแนน )จำนวน 1231สถานี คิดเป็น 84.02 % • สถานีที่ยังไม่มีรูปดาวปรากฏ จำนวน 61สถานี คิดเป็น 4.16 %

  10. สาเหตุที่หน่วยปฏิบัติยังไม่สามารถดำเนินการได้สาเหตุที่หน่วยปฏิบัติยังไม่สามารถดำเนินการได้ • หน่วยงานรู้สึกว่าเป็นภาระในการบันทึกข้อมูลในระบบ • ลักษณะองค์กรของตำรวจที่ซับซ้อน อาจเกิดปัญหาจากความแตกต่างในพื้นที่และบุคลากรของหน่วย ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการเรียนรู้ • ระบบe-Inspectorอาจไม่สะท้อนต่อผลการประเมินที่แสดงถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วย • ต้องผสมผสานกับการตรวจราชการแบบเดิมควบคู่ไปด้วย • มีความซ้ำซ้อนกับโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน • ข้าราชการตำรวจยังไม่เข้าใจในแบบประเมินผลตามระบบ e-Inspector • เกณฑ์การวัดและวิธีการตรวจยังไม่มีความชัดเจน

  11. จต.ได้มีการพิจารณาปรับเกณฑ์การวัดในแบบประเมินผลการตรวจราชการในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-Inspector จตช.ปรท.ผบ.ตร.ได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด แจ้งการปรับแบบและวิธีการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ 2557 แจ้งบช.น. ภ.1-9 ศชต.ทราบและถือปฏิบัติตามแบบและวิธีการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ 2557 โดยเริ่มตั้งแต่ 15 มี.ค.57

  12. แบบตรวจที่ ๑ • แบบตรวจตามแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำหรับตรวจ สถานีตำรวจนครบาล / สถานีตำรวจภูธร (สน./สภ.) ๑. การพัฒนาบุคลากร (๑๕ คะแนน) ๑.๒ การประชุมแถวทุกวัน เพื่อชี้แจงสถานการณ์และมอบภารกิจ (๒) ๑.๒.๒ มีภาพถ่ายประกอบ ทุกวัน (๑) ๑.๓ การแต่งกายและระเบียบวินัยของข้าราชการตำรวจ (ผมสั้น รองเท้ามัน ฟันขาว) (๒) ๑.๓.๒ มีภาพถ่ายประกอบ หกเดือนครั้ง (๑)

  13. ๑.๔ เสริมสร้างภาวะผู้นำหน่วย (๒) ๑.๔.๓ มีภาพถ่ายประกอบ เดือนละครั้ง (๐.๕) ๑.๗ ทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย (๑) ๑.๗.๒ มีภาพถ่ายประกอบ หกเดือนครั้ง (๐.๕)

  14. ๑.๙ เสริมสร้างให้ตำรวจมีระเบียบวินัยมีขวัญและกำลังใจที่ดี (๑) ๑.๙.๓ มีการประกวดการฝึกและมีการให้รางวัลผู้ชนะการประกวดการ ฝึก เดือนละครั้ง (๐.๕) ๒. การพัฒนาระบบ (๑๕ คะแนน) ๒.๑๔.๑.๒ จัดทำรายงานการประชุมปล่อยแถวสายตรวจจากสมุด ควบคุมสายตรวจ ทุกวัน (๐.๒๕) ๒.๑๔.๒.๑ จัดทำเอกสารโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน หรือ การต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น และภาพถ่าย เดือนละครั้ง (๐.๒๕)

  15. ๒.๑๔.๒.๓ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น ป้ายข้อความ,สติกเกอร์, เอกสารแผ่นพับและหนังสือกำชับ เป็นต้น เดือนละครั้ง (๐.๕) ๓. การพัฒนาสถานที่ (๑๐ คะแนน) ๓.๑.๒ มีภาพถ่ายประกอบ เดือนละครั้ง (๑) ๓.๒.๗ มีภาพถ่ายประกอบทุกกิจกรรมที่ดำเนินการ ทุกสิบวัน (๑)

  16. ๔. การพัฒนาสวัสดิการ (๑๐ คะแนน) ๔.๑ โครงการอาหารกลางวัน (๓) ๔.๑.๓ มีภาพถ่ายประกอบ ทุกสิบวัน (๑) ๔.๒ โครงการร้านค้าสวัสดิการ (๓) ๔.๒.๓ มีภาพถ่ายประกอบ เดือนละครั้ง (๑)

  17. ๔.๓ โครงการเสริมรายได้/ลดรายจ่ายให้กับตำรวจ/ครอบครัว (๔) ๔.๓.๓ มีภาพถ่ายประกอบ สามเดือนครั้ง (๑)

  18. แบบตรวจที่ ๒แบบตรวจและวิธีการตรวจราชการ (แบบมืออาชีพ) ของสำนักงานจเรตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ด้านการบริการทั่วไป (๑๐ คะแนน) ๒. มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ผู้ให้บริการ (๑ คะแนน) ๒.๑ สุ่มตรวจบุคลิกภาพ กริยา ท่าทางและมารยาทของ เจ้าหน้าที่ พร้อมภาพถ่ายประกอบเดือนละครั้ง (๐.๕) ๒.๒ มีการทดสอบเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการบน สน./สภ. (สอบถามการขอรับบริการ) เดือนละครั้ง (๐.๕)

  19. ๕. มีการบูรณาการงานให้บริการทั่วไป ร่วมกับงานด้านอื่นๆ (งานอำนวยความยุติธรรม, งานป้องกันปราบปราม, งานจราจร) (๓.๕ คะแนน) ๕.๑ มีการออกคำสั่งมอบหมายหน้าที่การให้บริการประชาชนในแต่ละวันของแต่ละสายงาน เดือนละครั้ง (๐.๕) ๕.๒ ปิดป้ายพันธะสัญญาของแต่ละลักษณะงานไว้ในที่ประชาชนสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน และตรวจสอบความเรียบร้อยอย่างสม่ำเสมอ พร้อมภาพถ่ายประกอบ เดือนละครั้ง (๑)

  20. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา (๑๐ คะแนน) ๒. ขั้นตอนการตรวจที่เกิดเหตุเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อบังคับ(๓ คะแนน) ๒.๑ การบันทึกภาพที่เกิดเหตุ จัดทำแผนที่เกิดเหตุ และการ บันทึกการตรวจสถานที่เกิดเหตุ (๐.๕ คะแนน) ๒.๑.๑ มีการบันทึกภาพที่เกิดเหตุ ทำแผนที่เกิดเหตุ และ บันทึกการตรวจสถานที่เกิดเหตุตามรูปแบบที่ ตร. กำหนด เมื่อมีคดีเกิด (๐.๕)

  21. ๒.๒.๓ ในคดีเกี่ยวกับทรัพย์ที่เกิดบ่อย ซ้ำซาก เจ้าหน้าที่ฝ่ายสืบสวนนำ บุคคลที่ต้องสงสัยในพื้นที่ที่เคยมีหรือมีพฤติกรรมในการก่อคดี ต่างๆ หรือจากบุคคลพ้นโทษเพื่อมาตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมือ หรือหลักฐานอื่น เพื่อหาตัวผู้กระทำผิดหรือไม่ เมื่อมีคดีเกิด (๐.๕) ๒.๒.๔ มีการเร่งรัดติดตามวางแนวทางในการแก้ไขปัญหา ในคดีที่ เกิดขึ้นบ่อย ได้แก่ คดีลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ และลักรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์ เมื่อมีคดีเกิด (๐.๕)

  22. ๓. ตรวจสอบ เร่งรัด การทำสำนวนการสอบสวน (๒ คะแนน) ๓.๑ การปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสอบสวน (๑ คะแนน) ๓.๑.๑ ตรวจสำนวนการสอบสวนว่าปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนวิธี ปฏิบัติตาม ป.วิอาญาเมื่อมีคดีเกิด (๑) ๓.๒ การปฎิบัติตามคำสั่ง ตร. ที่ 419/2556 ลง ๑ ก.ค. ๕๖ (๑ คะแนน) ๓.๒.๑ ตรวจสอบว่าผู้บังคับบัญชาของพนักงานสอบสวนตรวจ เร่งรัดสั่งคดีอย่างครอบคลุม และปฏิบัติตามคำสั่ง ตร. ที่ 419/2556 ลง 1 ก.ค. 56 ครบถ้วน เมื่อมีคดีเกิด (๑)

  23. ๖. การคืน การจำหน่ายของกลาง และการยึดรถต้องสงสัยตาม ป. วิอาญา มาตรา ๘๕ (๑ คะแนน) ๖.๑ ตรวจสอบการจำหน่ายของกลาง (๐.๕ คะแนน) ๖.๑.๑ ตรวจสอบการจำหน่ายของกลางเมื่อคดีเสร็จสิ้น เป็นไป ตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง หกเดือนครั้ง (๐.๕)

  24. ๖.๒ ตรวจสอบหลักฐานการยึด การคืน รถต้องสงสัย (๐.๕ คะแนน) ๖.๒.๑ ตรวจสอบหลักฐานการยึด และการคืนรถต้องสงสัย เดือนละครั้ง (๐.๒๕)

  25. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๑๐ คะแนน) ๑. หน้าที่รับผิดชอบ (๒ คะแนน) ๑.๑ ความรู้ความเข้าใจในอำนาจหน้าที่ของ รอง ผกก.ป. , สวป. (๐.๕ คะแนน) ๑.๑.๑ หน.สภ./สน. สอบถามความรู้ รอง ผกก.ป. , สวป. แต่ละคนมี ความรู้ความเข้าใจในบทบาทอำนาจหน้าที่ของตนเองตาม ระเบียบ ตร. ว่าด้วยการกำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ คู่มือการปฏิบัติในการจัด และควบคุมสายตรวจ (ฉบับปรับปรุง ปี ๒๕๔๓ , คู่มือการ ปฏิบัติงานของตำรวจสายตรวจ พ.ศ ๒๕๕๓ พร้อมภาพถ่าย ประกอบ หกเดือนครั้ง (๐.๕)

  26. ๑.๒ ความรู้ความเข้าใจในอำนาจหน้าที่ของ รอง ผกก.สส. , สว.สส. (๐.๕ คะแนน) ๑.๒.๑ หน.สภ./สน. สอบถามความรู้ รอง ผกก.สส. , สว.สส. แต่ ละคนมี ความรู้ความเข้าใจในบทบาทอำนาจหน้าที่ ของ ตนเองตามระเบียบว่าด้วยการกำหนดอำนาจหน้าที่ของ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และแนวทางการ ปฏิบัติงานสืบสวนที่ ตร.ได้จัดทำคู่มือไว้ พร้อมภาพถ่าย ประกอบ หกเดือนครั้ง (๐.๕)

  27. ๑.๓ ความรู้ความเข้าใจของผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบงาน ตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ (๐.๕ คะแนน) ๑.๓.๑ หน.สภ./สน. สอบถามความรู้ รอง ผกก.ป., สวป. แต่ละคน (โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานตำรวจ ชุมชนและมวลชนสัมพันธ์, งานตำรวจชุมชน/หมู่บ้าน ตาม แนวทางการปฏิบัติงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ที่ ตร.ได้จัดทำคู่มือไว้ พร้อมภาพถ่ายประกอบ หกเดือนครั้ง (๐.๕)

  28. ๔. ด้านการควบคุมและจัดการจราจร (๑๐ คะแนน) ๑. หน้าที่ความรับผิดชอบ (๒ คะแนน) ๑.๑ ความรู้ความเข้าใจในอำนาจหน้าที่ของ รอง ผกก.จร /สว.จร. /หน. จร. (๑ คะแนน) ๑.๑.๑ ตรวจสอบการรวบรวมคำสั่ง ตร.เรื่องการกำหนดหน้าที่การงาน ของ รอง ผกก.จร. /สว.จร./หน.จร. ต้องดำเนินการ เดือนละครั้ง (๐.๓) ๑.๑.๓ หน.สภ./สน. สุ่มทดสอบความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ รอง ผกก.จร. /สว.จร. /หน.จร. ตามข้อ ๑.๑.๑ ๖ เดือนครั้ง (๐.๔)

  29. ๑.๒ กรอบหรือแนวคิดในการดำเนินการในหน้าที่การควบคุมและ จัดการจราจร(๑ คะแนน) ๑.๒.๑ ตรวจสอบว่ามีกรอบหรือแนวคิดในการดำเนินการใน บทบาทหน้าที่ด้านการควบคุมและจัดการจราจรอย่างไรบ้าง ในรอบ ๑ ปี ๒ ปี และ ๓ ปี (ดูแนวทางมาตรการโครงการที่มี การวางแผนไว้) เดือนละครั้ง (๑)

  30. ๒. การวางแผนและพัฒนาระบบงาน (๓ คะแนน) ๒.๑ การกำหนดแนวทางดำเนินการก่อนปฏิบัติหน้าที่ (๑ คะแนน) ๒.๑.๒ ตรวจสอบการอบรมชี้แจง เพื่อตรวจความพร้อมในเรื่องต่าง ๆ ก่อนออกปฏิบัติหน้าที่ทุกครั้ง เช่น ตรวจเครื่องแต่งกาย อาวุธ อุปกรณ์ ยานพาหนะที่ใช้ในการทำงาน มีการอบรมระเบียบวินัย ให้ยึดถือปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมฯ ของ ตร. การปล่อยแถว เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรผลการวิเคราะห์จุดที่มีปัญหาการจราจร จุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อย และจุดที่มีการฝ่าฝืนกฎจราจร เป็นต้น ทุก วัน (๐.๕)

  31. ๕. ด้านพัฒนาบุคลากร (๑๐ คะแนน) ๔. การวางแผนพัฒนาบุคลากร (๑.๕ คะแนน) ๔.๑ มีโครงการ/แผนการฝึกยุทธวิธี หรือการฝึกตามสายงาน พร้อมภาพถ่ายประกอบ ทุกสิบวัน (๐.๒๕) ๔.๓ มีโครงการ/กิจกรรม การให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการ แก้ไขปัญหาการร้องเรียน หนี้สิน หรือการเสริมภาพลักษณ์ พร้อมภาพถ่ายประกอบ เดือนละครั้ง (๐.๒๕)

  32. ๖. การติดตาม ประเมินผลรายบุคคล มีการวางระบบไว้ชัดเจน (๑ คะแนน) ๖.๑ รายงานการปฏิบัติประจำวัน ทุกวัน (๐.๒๕) ๙. มีการบริหารจัดการในภาพรวมขององค์กรครอบคลุมทุกด้าน (๒ คะแนน) ๙.๑ มีการพัฒนาสถานที่ทั้งใน - นอก สถานี พร้อมภาพถ่ายประกอบ เดือนละครั้ง (๐.๕) ๙.๒ มีกิจกรรมในการตรวจสอบหรือกวดขันในเรื่องการแต่งกายของ ข้าราชการตำรวจ พร้อมภาพถ่ายประกอบ ทุกวัน (๐.๒๕) ๙.๓ มีกิจกรรมในการตรวจสอบความพร้อมอุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ (รถ, อาวุธ, เครื่องมือสื่อสาร) พร้อมภาพถ่ายประกอบ ทุกวัน (๐.๒๕)

More Related