1 / 22

2548- 10 ปีพืชจีเอ็ม / พืชไบโอเทค บทสรุปทั่วโลก การใช้ ผลจากการใช้พืชจีเอ็ม และวิสัยทัศน์ โดย

2548- 10 ปีพืชจีเอ็ม / พืชไบโอเทค บทสรุปทั่วโลก การใช้ ผลจากการใช้พืชจีเอ็ม และวิสัยทัศน์ โดย ไคลฟ์ เจมส์ ประธานบริหาร องค์การไอซ่า องค์การไอซ่า http://www.isaaa.org. ภารกิจองค์การไอซ่า. ภารกิจขององค์การไอซ่า คือ :

Download Presentation

2548- 10 ปีพืชจีเอ็ม / พืชไบโอเทค บทสรุปทั่วโลก การใช้ ผลจากการใช้พืชจีเอ็ม และวิสัยทัศน์ โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2548-10 ปีพืชจีเอ็ม/พืชไบโอเทค บทสรุปทั่วโลก การใช้ ผลจากการใช้พืชจีเอ็ม และวิสัยทัศน์ โดย ไคลฟ์ เจมส์ ประธานบริหาร องค์การไอซ่า องค์การไอซ่า http://www.isaaa.org

  2. ภารกิจองค์การไอซ่า • ภารกิจขององค์การไอซ่า คือ: • ให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความยากจน ความหิวโหย และภาวะการขาดแคลนอาหารโดยเพิ่มผลผลิตพืชให้สูงขึ้น สร้างรายได้ โดยเฉพาะแก่เกษตรกรรายย่อยที่ยากจน และนำมาซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยขึ้น และการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืนขึ้นจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพ • การแบ่งปันความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพพืชเพื่อชุมชนโลกจะได้รับความรู้เกี่ยวกับศักยภาพและสิ่งที่จะได้รับจากเทคโนโลยีใหม่ๆเหล่านี้ ข้อมูลเพิ่มเติมhttp://www.isaaa.org

  3. ประเด็นการยอมรับที่เกี่ยวข้องกับพืชจีเอ็มประเด็นการยอมรับที่เกี่ยวข้องกับพืชจีเอ็ม • ความปลอดภัยของอาหาร-การติดฉลาก และการตรวจสอบย้อนกลับ • ผลกระทบสิ่งแวดล้อม • การกระจายของยีน - การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ- การมีอยู่ร่วมกัน • ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมาย • ความคงทนในการต้านทานของบีที • การเข้าถึงข้อกำหนดและการควบคุมเทคโนโลยีจีเอ็ม • บทบาทของภาคเอกชน, สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา • ข้อพิจารณาด้านจริยธรรม

  4. ความมั่นคงของอาหาร อาหารสัตว์ และไฟเบอร์ทั่วโลก การบรรเทาความยากจน ความหิวโหย และภาวะการขาดอาหารที่มา: ไคลฟ์ เจมส์ 2547 • ประชากรทั่วโลก • 6 พันล้านคนในปี 2543 -9พันล้านคนในปี 2548 • พืชเป็นแหล่งอาหาร อาหารสัตว์ และไฟเบอร์ที่สำคัญ - 6.5ล้านตัน/ปี มีมูลค่า 1.7 ล้านล้านดอลลาร์ • ความท้าทาย - ผลผลิตพืชมากขึ้นเป็น 2 เท่าในพื้นที่เดิมจากระบบการเกษตรที่ยั่งยืนในปี 2593 ผลิตอาหาร/อาหารสัตว์ได้ตามความต้องการ • การบริจาค (ไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหา) บรรเทาความยากจน (1.3 พันล้าน) และผู้ขาดอาหาร (850 ล้าน)

  5. % ประชากรทั่วโลก % พื้นที่ อัตราส่วนพื้นที่/ประชากร สหรัฐอเมริกาและแคนาดา 5.1 17.2 3.4 สหภาพโซเวียต 5.1 16.9 3.3 ภูมิภาคอื่นๆ 3.4 5.7 1.7 อเมริการใต้ 5.6 6.6 1.2 ยุโรป 9.0 9.1 1.0 แอฟริกา 12.6 12.6 1.0 เอเซีย 59.2 31.9 0.5 ที่มา: สถิติขององค์การอาหารและการเกษตร (2542) สัดส่วนประชากรทั่วโลกและพื้นที่เพาะปลูก(%)

  6. พื้นที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพทั่วโลก (ล้านเฮกแตร์) ปี 2542-2547 : ประเทศอุตสาหกรรมและประเทศกำลังพัฒนา Source: Clive James, 2004

  7. การเติบโตเกือบถึงสถิติที่บันทึกไว้ในปี 2547จุดเด่น • สถิติที่บันทึกไว้ปีต่อปีมีการเติบโตสูงสุดเป็นครั้งที่ 2-เพิ่มขึ้น 13.3 ล้านเฮกแตร์หรือ 32.9 ล้านเอเคอร์ • 81 ล้านเฮกแตร์หรือ 200 ล้านเอเคอร์ใน 17 ประเทศ • เกษตรกรเทคโนโลยีชีวภาพ 8.25 ล้านคนเพิ่มขึ้นจาก 7 ล้านคน ในปี 2546 ซึ่งเพิ่มขึ้น 1.25 ล้านคน ในปี 2547 • ร้อยละ 90หรือ7.5 ล้านคนเป็นเกษตรกรรายย่อยในประเทศกำลังพัฒนา • ช่วงปี 2539-2547มีพื้นที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพทั้งหมด 385 ล้านเฮกแตร์หรือ 951 ล้านเอเคอร์(ประมาณ 1 พันล้าน เอเคอร์) • ที่มา: ไคลฟ์ เจมส์ 2004

  8. พื้นที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพ (ล้านเฮกแตร์) ปี2539-2547 ในแต่ละประเทศ Source: Clive James, 2004

  9. ในปี 2547ประเทศกำลังพัฒนามีสถิติได้รับประโยชน์มากกว่าประเทศอุตสาหกรรมที่มา; ไคล์ฟ เจมส์ , 2547 • จำนวนประเทศกำลังพัฒนา (11 ประเทศ) ที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพในปี2547 มากกว่าจำนวนประเทศอุตสาหกรรม (6ประเทศ) เกือบ 2 เท่า • ในปี 2547 ประเทศกำลังพัฒนา มีพื้นที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพ 7.2 ล้านเฮกแตร์ หรือร้อยละ 35 เทียบกับ 6.1 ล้านเฮกแตร์หรือร้อยละ 13 ในประเทศอุตสาหกรรม • ประเทศกำลังพัฒนา 5 ประเทศที่เป็นผู้นำในการปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพ- จีน อินเดีย อาร์เจนตินา บราซิล และแอฟริกาใต้ ซึ่งมีประชากรรวมกัน 2.6 พันล้านคน (ร้อยละ 40 ของประชากรทั่วโลก) ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพ 26 ล้านเฮกแตร์ในปี 2547 หรือเท่ากับ 1/3 ของทั้งโลก

  10. ประเทศกำลังพัฒนา 5 ประเทศที่เป็นผู้นำในการปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพ • จีน- เกษตรกรรายย่อย 7 ล้านคนได้รับประโยชน์จากการปลูกฝ้ายบีที ในปี 2547 • คาดว่าจะได้กำไร 5พันล้านจากข้าวและฝ้ายในปี 2553 • อินเดีย – เริ่มใช้ฝ้ายบีทีในปี 2545; พื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น 5 เท่า เป็น 500,000 เฮกแตร์ ในปี 2547;พืชเทคโนโลยีชีวภาพ > 15 สายพันธุ์อยู่ในขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา • อาร์เจนตินา - เป็นประเทศที่ใช้เทคโนโลยีชีวภาพลำดับที่ 2 – คิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั่วโลกในปี 2547 • ได้ประโยชน์ ~ 2 พันล้าน/ปีจากถั่วเหลือง ข้าวโพดและฝ้ายเทคโนโลยีชีวภาพ • บราซิล – อนุญาตถั่วเหลืองราวด์อัพ (RR soy)ในปี2546; 5 ล้านเฮกแตร์ในปี 2547 • ประโยชน์ที่ได้~1พันล้านดอลลาร์ต่อปีจากถั่วเหลือง ข้าวโพดและฝ้ายเท่านั้น • แอฟริกาใต้ – เป็นประเทศเทคโนโลยีชีวภาพผู้นำในแอฟริกา – ปี 2547 ข้าวโพด, ข้าวโพดขาว (ใช้เป็นอาหาร), ข้าวโพดเหลือง (ใช้เป็นอาหารสัตว์), ถั่วเหลือง & ฝ้ายเทคโนโลยีชีวภาพ • ที่มา :ไคลฟ์ เจมส์2547

  11. ศักยภาพประโยชน์จากข้าวเทคโนโลยีชีวภาพในจีน (/เฮกแตร์) ที่มา: จิคุน ฮวง 2547 • ลดการใช้สารฆ่าแมลง 17 กก.33 ดอลลาร์ • เพิ่มผลผลิต ร้อยละ 4 - 8 49 ดอลลาร์ • ลดการใช้แรงงาน8.4 วัน20 ดอลลาร์ • เพิ่มรายได้สุทฺธิ/เฮกแตร์102 ดอลลาร์ • คาดว่าจะได้ประโยชน์มูลค่า 4 พันล้านดอลลาร์/ปี ในปี 2553

  12. ประโยชน์ของพืชเทคโนโลยีชีวภาพในสหรัฐอเมริกา -2546 & 2544 43 ล้านเฮกแตร์ 21.1 ล้าน กก. 2.4 ล้านตัน 1.5 พันล้านดอลลาร์ 1.9 พันล้านดอลลาร์ 2546 2544 32 ล้านเฮกแตร์ 20.7 ล้าน กก. 1.7 ล้านตัน 1.2 พันล้านดอลลาร์ 1.5 พันล้านดอลลาร์ เฮกแตร์ ลดการใช้สารฆ่าแมลง ผลผลิตที่ได้รับ ลดค่าใช้จ่ายต้นทุนการผลิต รายได้สุทธิที่ได้รับ ที่มา: NCFAP 2547

  13. บทสรุป - ประโยชน์สำคัญที่ได้จากพืชเทคโนโลยีชีวภาพ ที่มา; ไคลฟ์ เจมส์ , 2547 • เพิ่มผลผลิตและรายได้ – เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 - 40และรายได้มูลค่า > 4 พันล้านดอลลาร์ในปี 2546; ผลผลิตพืชเทคโนโลยีชีวภาพมีมูลค่า 44 พันล้านดอลลาร์ในปี 2546 • อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ – ผลผลิตที่ได้มากเป็น 2 เท่าจากพื้นที่เดิม- ปกป้องป่าไม้/ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความสูญเสีย 13ล้านเฮกแตร์/ปี • ผลกระทบสิ่งแวดล้อม - ลดความจำเป็นในการใช้สารต่างๆ – ลดสารฆ่าแมลงร้อยละ 50 หรือ 30,000 ล้านตัน/ปีจากการปลูกฝ้ายเพียงอย่างเดียว - ในอนาคต - ความอุดมสมบูรณ์- การอนุรักษ์ดิน & น้ำ- เกิดความยั่งยืน • ผลผลิตที่มั่นคง – ควบคุมสิ่งกดกันจากสิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิต – ความคืบหน้าตามคำสัญญาเรื่องการทนแล้ง-สาเหตุหลักของความอดอยาก • ประโยชน์ทางสังคม – บรรเทาความยากจนปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ – เทคโนโลยีที่ช่วยประหยัดเวลา-ได้มาซึ่งอาหาร อาหารสัตว์ และไฟเบอร์ที่มากขึ้นมากขึ้น

  14. ความท้าทายในอนาคต • ปรับปรุงการสื่อสารกับสังคม. การตัดสินใจเรื่องพืชเทคโนโลยีชีวภาพโดยอยู่บนพื้นฐานข้อมูลความรู้

  15. ศูนย์กลางความรู้องค์การไอซ่าโลกเกี่ยวกับพืชเทคโนโลยีชีวภาพ (KC) & เครือข่ายศูนย์ ข้อมูลเทคโนโลยีชีวภาพ (BICs) Italy Russia *China Bulgaria Egypt *Pakistan *Bangladesh Mexico Mali Vietnam India *Senegal *Nigeria Thailand Philippines ISAAA’s Global KC *Costa Rica Kenya Malaysia Brazil Indonesia *Chile South Africa Argentina แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ 16 Near-term nodes *7 Future nodes ศูนย์กลางความรู้ไอซ่าโลก (KC), ตั้งอยู่ที่องค์การไอซ่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟิลิปปินส์,

  16. 120,000 Feb '05 98,841 100,000 Jan '05 96,773 80,721 80,000 71,886 60,000 56,718 40,000 35,579 24,931 20,000 15,089 65 684 4,084 0 Jan '01 June ’01 Dec '01 June ‘02 Dec '02 June ‘03 Dec '03 June ‘04 Dec '04 จำนวนสมาชิก ครอบ ไบโอเทค อัพเดท 2544-2547 จำนวนสมาชิกที่มีและสมาชิกที่คาดว่าจะเพิ่มเติมโดยประมาณ เกือบ. 100,000 ผู้รับเพิ่มเติม โดยประมาณ จำนวนสมาชิกทั้งหมด = ~ 200,000 เพิ่มขึ้น 2,000/เดือน

  17. การแลกเปลี่ยนความรู้กับสังคมโลกการแลกเปลี่ยนความรู้กับสังคมโลก สิ่งพิมพ์–ผลจากรายงานประจำปีองค์การไอซ่า จำนวนบทความในสื่อ >1000 จำนวนประเทศที่เข้าถึง ~ 22 จำนวนประชาชนที่เข้าถึง ~165 ล้าน จำนวนภาษาที่แปล ~12 ร้อยละ 90 ของบทความ= บวกหรือเป็น กลาง รายงานประจำปี – “สถานการณ์พืชดัดแปรพันธุกรรมทั่วโลก : 2546”

  18. ความท้าทายในอนาคต • ปรับปรุงการสื่อสารกับสังคม การตัดสินใจเรื่องพืชเทคโนโลยีชีวภาพโดยอยู่บนพื้นฐานข้อมูลความรู้ • อนาคตของพืชเทคโนโลยีชีวภาพ?

  19. คาดการณ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพในปี 2553 2547 2553 จำนวนประเทศเทคโนโลยีชีวภาพ จำนวนเกษตรกรที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพ พื้นที่ปลูกพืชเทคโนโลยีชีวภาพทั่วโลก 17 8.25 ล้าน 81 ล้านเฮกแตร์ (200 ล้านเอเคอร์) ~30 ~15 ล้าน ~150 ล้านเฮกแตร์ (375 ล้านเอเคอร์) ที่มา: ไคลฟ์ เจมส์, 2547

  20. ความท้าทายในอนาคต • ปรับปรุงการสื่อสารกับสังคม การตัดสินเรื่องพืชเทคโนโลยีชีวภาพโดยอยู่บนพื้นฐานข้อมูลความรู้ • เพิ่มจำนวนประเทศ เกษตรกร และพื้นที่เทคโนโลยีชีวภาพ • สร้างความมั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนามีทางเลือกที่จะใช้พืชเทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับเทคโนโลยีแบบเดิมเพื่อให้ได้มาซึ่งการเกษตรที่ยั่งยืนขึ้น อาหาร อาหารสัตว์ และไฟเบอร์มีความมั่นคงมากขึ้น บรรเทาความยากจนและนำมาซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยมากขึ้น • ที่มา: ไคลฟ์ เจมส์ 2004 • ที่มา: ไคลฟ์ เจมส์ 2547

  21. 2548 – ทั่วโลกมุ่งประเด็นบรรเทาความยากจน 2548 - ครบรอบ10 ปี พืชเทคโนโลยีชีวภาพ • กุมภาพันธ์ –การศึกษาของสหประชาชาติ โดยเจฟฟรีย์ แซชส์ • มีนาคม – คณะกรรมาธิการแอฟริกาของนายโทนี แบลร์ • กรกฎาคม – การประชุมสุดยอด G8 –มุ่งประเด็นไปที่บรรเทาความยากจน • กันยายน – การประชุมสหประชาชาติพิจารณาเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษใหม่ที่ทำขึ้นในปี 2543 รวมถึงการลดความยากจนลงร้อยละ 50 ในปี 2553 • ธันวาคม – การประชุมการค้าโลกฮ่องกงเรื่องเสรีภาพทางการค้า โดยเฉพาะผลผลิตการเกษตรจากประเทศกำลังพัฒนา

More Related