1 / 41

"กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม"

"กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม". โดย รศ.ดร.สุพรรณี ไชยอำพร ดร.คมพล สุวรรณกูฏ. คำสำคัญ (Keyword). สังคม society ทางสังคม social การเฝ้าระวัง surveillance เครือข่ายเฝ้าระวังทางสังคม network. 6 องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง.

Download Presentation

"กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม"

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. "กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม""กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม" โดย รศ.ดร.สุพรรณี ไชยอำพร ดร.คมพล สุวรรณกูฏ

  2. คำสำคัญ (Keyword) • สังคม society • ทางสังคม social • การเฝ้าระวัง surveillance • เครือข่ายเฝ้าระวังทางสังคม network

  3. 6 องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง • การตรวจหา และการแจ้งเหตุการณ์ที่เฝ้าระวัง • การพิสูจน์ และตรวจยืนยัน (โดยนักระบาดวิทยา นักสังคม หรือผู้เชี่ยวชาญอื่น เช่น นักจิตวิทยา) • การเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์และแปรผลของข้อมูล • การแนะนำ และการเผยแพร่ผลการเฝ้าระวัง • การตอบสนอง (จัดการ) โดยเชื่อมโยงกับโครงการต่าง ๆ เพื่อการป้องกันและควบคุม

  4. Technical การออกแบบสอบถาม การสุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้สถิติประยุกต์ชั้นสูง การรายงานผล Structural ระบบคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์ ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ท เครือข่ายองค์กรและชุมชน บุคคลากรที่เชี่ยวชาญ. การสนับสนุนทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง สองปัจจัยที่สำคัญในการเฝ้าระวัง

  5. ปรัชญาของการดำเนินงานของชุมชนปรัชญาของการดำเนินงานของชุมชน Collective Personality Society Self-reliance (SR.) Dealination People Participation (PP.) Aspiration Frontier Consciousness Gap

  6. หลักการ Community Organization • Well-trained :ได้รับการอบรมอย่างดีเยี่ยม • Ground Work/Legged Work: ลงสำรวจ • Root Problem: รู้ปัญหารากเหง้า • Identify Enemy :ระบุต้นเหตุปัญหา • Action-reflection :ลงปฏิบัติ • Establish :ตั้งคณะทำงาน/กรรมการ

  7. สำรวจ People ประชาชน พื้นที่/ประเด็น ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล Identification Model การปฏิบัติ Networking สรุปประสบการณ์/ประเมินผล Public เชื่อมประสาน PeopleOrganization Policy ขั้นตอนการสร้างเครือข่าย Conceptualization

  8. แนวคิดการเสริมสรางศักยภาพชุมชน (Capacity building) การเสริมสรางศักยภาพชุมชน ปจจุบันนับเปนยุทธศาสตรที่สําคัญในการดําเนินงานดานพัฒนาตางๆ ปจจุบัน “การเสริมสรางศักยภาพ” สามารถพบไดโดยทั่วไปในเอกสารระดับนโยบาย แผนงาน ตลอดจนถึงระดับโครงการ เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานแผนงาน โครงการใดๆ ที่เกี่ยวของกับชุมชน โดยเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวม (Community participation) หรือเสริมสรางสถานการณ (Building environment) ใหชุมชนดําเนินการกิจกรรมการพัฒนาและการแกปญหาในชุมชนเอง

  9. นิยามศัพท์ CIDA (1996) ซึ่งไดใหความหมายวา การเสริมสรางศักยภาพ คือ กระบวนการซึ่งปจเจก กลุมคน สถาบัน องคกร และสังคม รวมกันสงเสริมการใชความรูความสามารถตนเองในการวิเคราะห และกําหนดแนวทางการพัฒนาในลักษณะที่แสดงใหเห็นความยั่งยืน

  10. นิยามศัพท์ • การเสริมสรางศักยภาพ (Capacity building) ปจจุบัน UNDP (1997) ไดปรับกระบวนทัศนและพยายามเปลี่ยนมาใชคําวา การพัฒนาศักยภาพ (Capacity development) แทน ซึ่ง UNDP ไดใหคําจํากัดความวา คือ กระบวนการที่ปจเจก กลุมคน องคกร สถาบัน และสังคม เพิ่มศักยภาพตนเองดาน • ปฏิบัติหนาที่หลักในแกปญหา กําหนดปญหา และบรรลุวัตถุประสงคได • เขาใจและจัดการความตองการกิจกรรมการพัฒนา (Community development needs) ครอบคลุมหลายมิติไดและเปนไปอยางยั่งยืน ซึ่งการพัฒนาศักยภาพนี้ มี ความหมายแสดงนัยของกระบวนการที่พัฒนา • อยางตอเนื่อง (On-going process) ภายใตศักยภาพของชุมชนและสังคมที่มีอยู มากกวาการสรางศักยภาพใหเกิดขึ้นใหมในชุมชนนั้น

  11. วัตถุประสงคการเสริมสรางศักยภาพชุมชนวัตถุประสงคการเสริมสรางศักยภาพชุมชน Charity Commission for England and Wales (2003) ไดระบุวัตถุประสงคการเสริมสรางศักยภาพชุมชนไวสองประการ คือ • เพื่อเปดโอกาสใหชุมชนไดเรียนรูผานประสบการณตนเอง เปนสถานการณที่เปดโอกาสใหชุมชนที่ไมเคยไดรับมากอน • ชุมชนมีสวนดําเนินการรวมกัน (Collective effort) ซึ่งเปนการสรางความเชื่อมั่นใหชุมชนเองภายใตความสามารถตนเอง และความสามารถที่จะมีอิทธิพลตอกระบวนการ ตัดสินใจที่มีผลกระทบตอชุมชนนั้น

  12. การเสริมสรางศักยภาพชุมชน (Community capacity building) มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนานโยบายสาธารณะ (Public policy development) Health Canada (2000) ซึ่งเปนองคกรดานสาธารณสุขที่มีประสบการณการวิจัยและพัฒนาการใชแนวคิดยุทธศาสตรการเสริมสรางศักยภาพชุมชนเพื่อการนําไปสูการพัฒนานโยบายสาธารณะจากฐานลาง โดยการสงเสริมพลังอํานาจประชาชนสรางกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะทางขวาง (Horizontal policy process) โดยการสรางศักยภาพ ใหปจเจก กลุมชน และระบบเพื่อพัฒนานโยบาย ซึ่งถือเปนแนวคิดที่เปลี่ยนจากประชาพิจารณจากการหารือกับชุมชน (Consultation) มาเปนรวมกันกําหนดนโยบาย (Collaboration) ในลักษณะใหความสําคัญของทุกกลุมชนในสังคมอยางเทาเทียมกัน

  13. หนึ่งในแนวทางพัฒนาที่ก่อให้เกิดความสมดุล และยั่งยืน ภายใต้บริบทของสังคมไทย คือ การสร้างความมั่นคงของมนุษย์ โดยวิธีการใช้การระดมพลังทางสังคม หรือ ทุนทางสังคม (Social Capital)“ทุนทางสังคม” จึงเป็นทางเลือกที่สำคัญ ที่สามารถแก้ไขปัญหา และก่อให้เกิดการพัฒนาที่สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งยังป้องกันการต่อรองที่ไม่เป็นธรรม อันจะเป็นผลดีกับเศรษฐกิจโดยรวม และสังคมในท้ายที่สุด เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่แจ่มชัดในการร่วมกันวิเคราะห์วินิจฉัย และเปิดมุมมองใหม่ร่วมกันอย่างจริงจังในการผลักดันขับเคลื่อนขบวนการพัฒนาสังคมไทย ในแนวทางการพึ่งตนเองจากการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของชุมชนในระดับรากหญ้า (Grass Root) ให้บังเกิดผลจริงจัง

  14. “คน” เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญ คือเมื่อเวลาผ่านไป แทนที่จะเสื่อมค่าทั้งหมด กลับมักจะพบว่ายิ่งเพิ่มพูนคุณค่าเพราะยิ่งทำก็ยิ่งมีประสบการณ์ โดยเฉพาะถ้าหากมีการจัดการฝึกอบรม เรียนรู้ ถ่ายทอด พัฒนาคน พัฒนาสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้น ก็จะเพิ่มพูนทักษะความสามารถในการดำเนินการหรือทำการผลิต / บริการได้ดียิ่งขึ้น เมื่อบุคคลยังสามารถเพิ่มพูนได้ในระดับแต่ละปัจเจก รวมทั้งมีความมั่นคงในชีวิตย่อมส่งผลดีต่อปัจจัยการจัดการตลอดจนผลสำเร็จของงาน • หากเป็นระดับกลุ่มคนก็น่าจะยิ่งเพิ่มพลัง เฉกเช่นสัตว์ทั้งหลายที่อยู่เป็นกลุ่ม เป็นฝูง ย่อมมีโอกาสรอดชีวิตมากกว่าอยู่เดี่ยว ๆ ดังนั้น การที่ผู้คนมาอยู่ร่วมกัน และต่างมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ยิ่งทำให้กลุ่มองค์กรเข้มแข็ง คนอยู่รวมกลุ่ม และมีสัมพันธภาพที่ดี คือ ช่วยเหลือ เอื้ออาทร ผูกพันกับกลุ่ม กับท้องถิ่น กับองค์กร ย่อมก่อให้เกิดผลอย่างน้อย ๆ 4 ประการคือ • ก่อให้เกิดความรู้สึกมั่นคง และปลอดภัย • การอยู่ร่วมกันสามารถช่วยแบ่งความทุกข์ หรือระบายทุกข์ ทำให้มีความสุขขึ้น • คนอยู่เป็นกลุ่มสามารถทำในสิ่งที่คน ๆ เดียวทำได้ยากหรืออาจทำไม่ได้ คือ • กลุ่มคนทำอะไรสำเร็จได้โดยง่าย และมีประสิทธิภาพกว่า • การรวมกลุ่มทำให้เกิดภาวะยั่งยืนของกลุ่ม องค์กร และสังคม

  15. ความหมาย ประเวศ วะสี (2541) : ทุนทางสังคม = ความเป็น กลุ่มก้อนทางสังคม การมีการศึกษาดี การมีวัฒนธรรม การมีความซื่อสัตย์สุจริต การมีความรับผิดชอบต่อส่วนร่วม การมีประสิทธิภาพในการทำงาน การมีการเมืองและระบบราชการที่ดี

  16. ความหมาย ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม (2542) : ทุนทางสังคม หมายถึง ความเข้มแข็งของชุมชม ท้องถิ่น ความสามัคคี รวมพลัง มีหน่วยที่จะจัดการ จัดระบบต่างๆ ของชุมชน มีศิลปวัฒนธรรม มีจุดรวมใจ มีศีลธรรม มีจิตวิญญาณสังคม

  17. ความหมาย ชาติชาย ณ เชียงใหม่ (2543) : ทุนทางสังคมหมายถึง สถาบันทางสังคม และรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีอยู่ในแต่ละชุมชนชนบทที่ทำหน้าที่ จัดระเบียบความสัมพันธ์ ให้ความชอบธรรม แก่แบบแผนของการจัดสรรแลกเปลี่ยนทรัพยากร

  18. ความหมายทุนทางสังคม • ทุนทางสังคม เน้นที่รูปแบบของความสัมพันธ์ที่มี อยู่ในกลุ่มสังคม โดยเฉพาะชนบท ตั้งแต่ในครอบครัว ขยายจนถึงกลุ่มเพื่อน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มต่าง ๆ ใน ชุมชนในสังคมที่ต่างมุ่งมั่นเพื่อส่วนรวมร่วมกัน เอื้ออาทรช่วยเหลือ ร่วมมือกัน ในการจัดดำเนินการต่างๆ ในชีวิต และสังคมตน

  19. รูปแบบทุนทางสังคม • 1) ระดับบุคคล : รูปแบบเน้นต่างตอบแทน ความไว้ • เนื้อเชื่อใจ ในการเชื่อมโยงในสังคม • 2) ในระดับครอบครัว : รูปแบบเช่นเดียวกับในระดับบุคคล • แต่สัมพันธภาพ จะเต็มด้วยความไว้ • เนื้อเชื่อใจสูง เอื้ออาทรสูง ผูกพันสูง • ระดับกลุ่ม/องค์กร : รูปแบบการร่วมมือจัดการ การมีส่วนร่วมและปฏิสัมพันธ์กัน • 4) ระดับชุมชน : รูปแบบเหมือนระดับกลุ่ม/องค์กร • 5) ระดับประเทศ : ไม่แน่นแฟ้นเช่น 4 ระดับข้างบน • แต่ยึดโยง ด้วยความเหมือนกัน

  20. ความสัมพันธ์ของความมั่นคงของมนุษย์และทุนทางสังคมความสัมพันธ์ของความมั่นคงของมนุษย์และทุนทางสังคม ความมั่นคงของมนุษย์ ช่วยเหลือ / ประกัน / ป้องกัน / พัฒนาบุคคล ให้สามารถอยู่และดำเนินในชีวิตอย่างเข้มแข็งและสมศักดิ์ศรี ทุนทางสังคม รวมกันในสังคมทุกระดับ ด้วยจิตใจผูกพัน เอื้ออาทร ความมั่นคงของมนุษย์ ทุนทางสังคม

  21. แนวคิดเครือขายความสัมพันธทางสังคมแนวคิดเครือขายความสัมพันธทางสังคม ความสัมพันธของบุคคลกลุมใดกลุมหนึ่งที่จะมีสวนรวมคิดคน ตัดสินใจและดําเนินการแกปญหาไดนั้น จะตองมีปฏิสัมพันธ ระหวางกันและกัน ดวยการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องสวนรวม ถามีปฏิสัมพันธที่ดีจะกอใหเกิดความผูกพันของกลุมที่จะดําเนินไปใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการ และ กลุมบุคคลก็จะเปนเครือขายสัมพันธ ในการติดตอ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันตลอดเวลา ซึ่งเรียกวา “เครือขายทางสังคม”

  22. นิยามศัพท์ อคิน รพีพัฒน อธิบายวา สังคมที่ลักษณะเปนเครือขายคลายใยแมงมุม บุคคล คือ จุดที่เสนใยของเครือขายมาพบกันกลาวคือ บุคคล คนหนึ่งย่อมมีความสัมพันธกับคนอีกเปนจํานวนมากในหลายรูปลักษณะ และสถานการณที่บุคคล มีเสนโยงความสัมพันธกวางขวางทั้งใน และนอกหมูบาน ยอมมีความสําคัญ ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงใน หมูบานมากกวาคนอื่น ๆ ที่มีเสนสายความสัมพันธเชื่อมโยงกับคนอื่น ๆ จํานวนนอย

  23. นิยามศัพท์ ชาติชาย ณ เชียงใหม ไดอธิบายวา เครือขายสังคมเปนความสัมพันธทางสังคมทั้งหมดของคนในสังคมที่กลุมบุคคลมีตอกัน โดยคุณลักษณะของความสัมพันธที่เกิดขึ้นสามารถนํามาใชอธิบายพฤติกรรมของบุคคลเหลานี้ เครือขายสังคมนี้ประกอบดวย ความสัมพันธทางสังคมทั้งหมด การเรียนรูของบุคคล หรือกลุมองคกรใดก็ตามยอมสัมพันธในฐานของบุคคลหรือองคกรที่มีปญหา มีกิจกรรมที่ปฏิบัติทางสังคมรวมกัน ที่ทําใหชุมชนสามารถดํารงอยูได

  24. ขอบเขตของเครือขายสังคมขอบเขตของเครือขายสังคม กําหนดขอบเขตของเครือขายสังคม โดยอาศัยระหวางทางสังคม เปนเกณฑในการแบงเครือขายบุคคล ประกอบดวยปริมณฑลที่สําคัญอยางนอย 3 ปริมณฑลดวยกันคือ • ปริมณฑลแรก ควรประกอบดวยบุคคลตาง ๆ ที่ใกลชิดกับบุคคลที่เปนศูนยกลางมากที่สุด อันไดแก ญาติพี่นอง เพื่อนฝูง ซึ่งเรียกกวาเปนเครือขายใกลชิด • ปริมณฑลที่สอง ไดแก เครือขายรอง ซึ่งประกอบไปดวยบุคคลตาง ๆ ที่บุคคลซึ่งเปนศูนยกลางรูจักคุนเคยนอยกวา กลุมแรก กลุมนี้มัก ไดแก ญาติพี่นองหาง ๆ กันออกไป เพื่อนฝูง และคนที่รูจักคุนเคย • ปริมณฑลที่สาม ไดแก กลุมบุคคลซึ่งบุคคลที่เปนศูนยกลางไมรูจักโดยตรง แตสามารถติดตอสัมพันธดวยไดถาตองการ โดย ผานเครือขายใกลชิด อีกที่หนึ่ง ซึ่งเรียกวา เครือขายขยาย

  25. “บอกเล่าเรื่องการสร้างเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม"“บอกเล่าเรื่องการสร้างเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม" โดย รศ.ดร.สุพรรณี ไชยอำพร ดร.คมพล สุวรรณกูฏ

  26. Ex.แนวทางการจัดรายงานโรคที่สำคัญที่ต้องรายงานทางระบาดวิทยาที่สำคัญEx.แนวทางการจัดรายงานโรคที่สำคัญที่ต้องรายงานทางระบาดวิทยาที่สำคัญ • จากสถานการณ์การเกิดโรคภัยไข้เจ็บที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะปัญหา โรคติดเชื้อที่เกิดขึ้นใหม่ และโรค ที่กลับมามีปัญหาอีกในปัจจุบัน ได้ก่อให้เกิดปัญหามากมายต่อประเทศไทย ส่งผลกระทบทั้งในด้านสาธารณสุข สังคม และเศรษฐกิจ ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลการเกิดโรคที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อนำไปสู่กระบวน การตัดสินใจ ในการกำหนดนโยบาย หรือ มาตรการป้องกันควบคุมโรคที่ทันท่วงที สำนักระบาดวิทยา จึงทบทวน การจัดเรียงลำดับ ความสำคัญของโรค/ภัยสุขภาพที่จำเป็น จะต้องมีการเฝ้าระวังและรายงานอย่างรวดเร็ว โดยใช้ข้อมูลโรคที่กำลังเป็นปัญหาในปัจจุบัน นโยบายรัฐบาล และโรคที่กระทรวงกำหนดตามพระราชบัญญัติ โรคติดต่อ มาเป็นแนวทางในการพิจารณา • วัตถุประสงค์1. เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ สามารถวิเคราะห์และรายงานสถานการณ์โรคที่สำคัญต่อผู้บริหารสาธารณสุขทุกระดับ ให้ได้รับทราบสถานการณ์โรคที่เป็นปัจจุบัน 2. เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเฝ้าระวังโรค ในการวางแผนและควบคุมโรคในพื้นที่ทุกระดับ • โรคที่มีลำดับความสำคัญสูง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม1. กลุ่มที่ต้องรายงานถึงสำนักระบาดวิทยาภายใน 24 ชั่วโมง2. กลุ่มที่ต้องรายงานถึงสำนักระบาดวิทยาภายใน 1 สัปดาห์

  27. ตารางที่ 2 โรคที่มีลำดับความสำคัญสูงที่ต้องรายงานถึงสำนักระบาดวิทยาภายใน 1 สัปดาห์ แบบรายงานที่ใช้1. แบบรายงาน SARS12. แบบ E1 สำหรับผู้ป่วย Severe diarrhoea3. แบบ E2 สำหรับผู้ป่วยไข้เลือดออก4. แบบรายงาน 506 หรือ E1 (กรณีผู้ป่วยเป็นกลุ่ม)5. แบบรายงานผู้ป่วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่สำคัญ ประจำสัปดาห์ตามวันรับรักษา

  28. คำนิยามสำหรับผู้ป่วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่สำคัญปี 25471. ให้ใช้นิยามตามคู่มือ นิยามโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ปี 25462. ปอดบวมสงสัย SARS ใช้นิยามตามรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์: ฉบับผนวก:ปีที่ 34 ฉบับ 2s:กรกฎาคม 2546 วิธีการจัดทำรายงาน1. โรคตามตารางที่ 1 ให้รายงานถึงสำนักระบาดวิทยา ทันที หรือภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่พบผู้ป่วยเข้าตามนิยามการ เฝ้าระวัง โดยทางโทรศัพท์ หมายเลข 0-2590-1876, 0-2590-1886, 0-2590-1882 หรือทาง โทรสาร หมายเลข 0-2590-1874, 0-2591-8579, 0-2590-1730 โดยใช้รูปแบบรายงาน 506, SARS1, E1 (ไม่ใช่เป็นการดึงข้อมูลจาก electronic file นอกจากว่า ข้อมูลใน electronic file จะเป็นข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน)2. โรคตามตารางที่ 2 ใช้แบบรายงานผู้ป่วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่สำคัญ ปี 2547 ประจำสัปดาห์ ตามวันรับรักษา ให้เก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนผู้ป่วย-ตายรายสัปดาห์ ตั้งแต่วันอาทิตย์-วันเสาร์ ในสัปดาห์นั้น ๆ และใช้แบบ E2 ในกรณีไข้เลือดออก 3. ผู้ป่วยปอดบวมที่ต้องเข้ารับรักษาในโรงพยาบาล ขอให้รายงานเป็นจำนวนผู้ป่วย/ตายทั้งหมดภายในสัปดาห์นั้น (ให้เป็นปัจจุบัน โดยขอให้ทางโรงพยาบาลรวบรวมข้อมูลจากงานเวชสถิติ)4. ขอให้มีการรวบรวม และติดตาม วิเคราะห์ข้อมูลที่จัดส่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด โดยเฉพาะระยะเวลา ตั้งแต่ เริ่มป่วย -รายงานถึงสำนักระบาดวิทยา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องทันเวลา5. หากมีข้อสงสัย ติดต่อสอบถามได้ที่กลุ่มเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา โทรศัพท์หมายเลข 0-2 590 -1876 หรือ 0-2590-1886 หรือ 0-2590-1882

  29. ผลที่คาดว่าจะได้รับ1. หน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด ทราบสถานการณ์การเกิดโรคในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว สามารถวางแผนในการ เฝ้าระวัง และกำหนดมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทันต่อเหตุการณ์2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และประชาชน ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดโรคต่าง ๆ ที่สำคัญ เพื่อป้องกันการตื่น ตระหนก3. ผู้บริหารสาธารณสุขในส่วนกลางได้รับข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็ว สามารถใช้วางแผนรับสถานการณ์ และกำหนดนโยบาย/มาตรการการป้องกันควบคุมโรคที่ทันท่วงที รายงานโดย สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

  30. รายงานผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การควบคุมตัวยาและสารเคมีผ่านทาง Internet

  31. The surveillance loop Community system Surveillance centre Data Information Event Action Reporting Feedback, recommendations

  32. เครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังทางสังคม : กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก

  33. บริบทชุมชนพิษณุโลกพัฒนาบริบทชุมชนพิษณุโลกพัฒนา • ชุมชนเกิดใหม่ ประมาณปีพ.ศ.2538 • มีความพร้อมในเชิงระบบ “ชุมชนย่อยเทศบาล” • มีความรักผูกพัน... ลำบากด้วยกัน • มีการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนา... SML ฯลฯ • ผู้นำทุ่มเท/มีความเสียสละ... มีกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ • มีประสบการณ์ในการฟันฝ่าอุปสรรคร่วมกัน... การตัดถนน

  34. ขั้นสำรวจปัญหา สำรวจข้อมูลตามวิถีการดำเนินชีวิต • เดินชวนคุยตามคุ้มบ้าน... ถางหญ้าตามซอยต่างๆ • มาพบปะคุยกัน... บ้านใครมีปัญหา • ภรรยาผู้นำมีบทบาทสำคัญ มีความเต็มใจ... ร้านขายของชำ

  35. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลตามวิถีการดำเนินชีวิต • อาศัยความรู้สึก... ส่วนบุคคล • หลายคนรู้สึก... โดยการพูดคุย • ปัญหาเริ่มรุกราม • อภิปราย/แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน • จำแนกแยกแยะ/ระบุประเด็นปัญหา (Identification)

  36. ขั้นปฏิบัติ แก้ไขปัญหาตามวิถีการดำเนินชีวิต & กฎเกณฑ์บ้านเมือง • ผู้นำทุมเท... เอาจริง/จริงจัง เช่น การทะเลาะวิวาทของสามีภรรยา/วัยรุ่น • คนในชุมชนร่วมกันแก้ไข... เช่น บ้านเช่ายาเสพติด มอเตอร์ไซค์เสียงดังตามถึงบ้าน การรุกล้ำที่สาธารณะ ปัญหาเด็กยากจน ฯลฯ • เสริมสร้างความผูกพัน เช่น พิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่

  37. ขั้นสรุปและประเมินผล ประเมินผลตามวิถีการดำเนินชีวิต • สรุปที่ตัวบุคคล... ไม่มีการถ่ายทอดอย่างเป็นระบบ เช่น ย้ายออกจากชุมชน เจรจาขอความร่วมมือกับร้านดัดแปลงรถมอเตอร์ไซค์ • มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ เช่น ผู้นำชุมชน กรรมการ • การประกวดกระทงพืชผักสวนครัว – ครู ชาวบ้าน ผู้นำ • กำหนดเป็นมาตรการ/กฎเกณฑ์ของชุมชน

  38. ขั้นเชื่อมประสาน สร้างเครือข่ายตามวิถีการดำเนินชีวิต • เริ่มต้นด้วยจิตสำนึก-Motive • เพื่อนช่วยเพื่อน... บอกกล่าวการเคลื่อนย้ายของผู้ต้องสงสัย

  39. สำรวจ People ประชาชน พื้นที่/ประเด็น ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล Identification Model การปฏิบัติ Networking สรุปประสบการณ์/ประเมินผล Public เชื่อมประสาน PeopleOrganization Policy การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทางสังคม กลไกภาครัฐ People Participation Conceptualization ภาคประชาชน/ประชาสังคม

More Related