1 / 29

ENCODER

ENCODER. ENCODER. อุปกรณ์ป้อนกลับ (Feedback Device). นิยมเรียกว่า “เอนโค้ด เดอร์ (Encoder) ” องค์ประกอบสำคัญในระบบขับเคลื่อน ระบบขับเคลื่อน เซอร์ โวมอเตอร์ ระบบ ขับเคลื่อนไฟฟ้าแบบเอซี (Close loop). ENCODER. หน้าที่ของ Encoder. ตรวจวัดความเร็วรอบ (Speed)

emiko
Download Presentation

ENCODER

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ENCODER

  2. ENCODER อุปกรณ์ป้อนกลับ (Feedback Device) • นิยมเรียกว่า “เอนโค้ดเดอร์(Encoder)” • องค์ประกอบสำคัญในระบบขับเคลื่อน • ระบบขับเคลื่อนเซอร์โวมอเตอร์ • ระบบขับเคลื่อนไฟฟ้าแบบเอซี (Close loop)

  3. ENCODER หน้าที่ของ Encoder • ตรวจวัดความเร็วรอบ (Speed) • ทิศทางการหมุนของมอเตอร์ (Direction of Rotation) • ตำแหน่ง / มุมของการหมุน • จำนวนรอบของการหมุน

  4. ENCODER ชนิดของ Encoder • แยกประเภทได้ 2 กลุ่ม • ทำงานด้วยหลักการเหนี่ยวนำ / Analog Encoder • ทำงานด้วยหลักการดิจิตอล / Digital Encoder

  5. ENCODER Analog Encoder • เทคโคเจนเนอเรเตอร์(Tacho Generator) • รีโซลเวอร์(Resolver)

  6. ENCODER Tacho Generator • เจนเนอเรเตอร์ขนาดเล็ก • แปลงความเร็วรอบมาเป็นแรงดันไฟฟ้า • สำหรับควบคุม 0 – 10 v. • เพื่อป้อนกลับไปยังชุดไดรฟ์ • นิยมใช้ในระบบดีซีไดรฟ์

  7. ENCODER Resolver • ใช้งานมากในระบบเซอร์โว • มีความแข็งแรง / ทนทาน • ทนต่อสภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมได้ดี • ลักษณะคล้ายหม้อแปลงตัวเล็ก • อาจเรียกว่า “Rotary Transformer”

  8. ENCODER Resolver

  9. ENCODER โครงสร้าง/การทำงานของ Resolver • ลักษณะคล้ายกับมีหม้อแปลง 2 ชุด • ชุดแรกรับสัญญาณอ้างอิง ความถี่สูงย่าน 2 – 10 kHz • เพื่อสร้างแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำให้ • เกิดกระแสไหลไปสร้างสนามแม่เหล็กให้กับขดลวดชุดที่สอง • มีขดลวดปฐมภูมิที่ติดกับโรเตอร์1 ชุด • มีขดลวดทุติยภูมิ 2 ชุด วางทำมุมกัน 90 องศา • เรียกว่า ขดลวด sine และ cosine

  10. ENCODER โครงสร้าง/การทำงานของ Resolver (ต่อ) • สัญญาณทั้งสองจะถูกป้อนกลับคอนโทรลเลอร์ • แปลงสัญญาณเป็นสัญญาณดิจิตอล • โดย Resolver-to-digital convertor (RDC) • มีจำนวนช่วง 1,000 – 4,000 พัลส์ ต่อการหมุน 1 รอบ

  11. ENCODER Digital Encoder • Incremental Encoder • Absolute Encoder

  12. ENCODER ส่วนประกอบเบื้องต้น Digital Encoder

  13. ENCODER ส่วนประกอบเบื้องต้น Digital Encoder • เพลา (Shaft) ใช้สำหรับต่อเข้ากับวัตถุที่หมุน • แผ่นดิสก์ (Code หรือ Pulse Disc) • เป็นแผ่นที่มีแทร็กทั้งส่วนที่โปร่งแสงและทึบแสง • เพื่อให้แสง LED ผ่านได้ • Photodetectorใช้รับแสงเพื่อแปลงเป็นรหัสข้อมูล

  14. ENCODER หลักการทำงานของ Digital Encoder • แสง LED จะส่องผ่านเลนส์ (Convex lens) • ปรับโฟกัสให้ลำแสงขนานกัน • ให้ลำแสงส่องผ่านแทร็กหรือร่องเล็กๆ บน Disc

  15. ENCODER Incremental Encoder • แสงที่ผ่าน Disc จะแยกเป็น 2 ส่วน • มีเฟสต่างกันอยู่ 90 องศา • เรียกแสงเดิมว่าเฟส A และลำแสงใหม่ว่า เฟส B • แสงนี้จะส่องผ่านไปที่ Photo didode2 ตัว • แปลงสัญญาณที่ได้รับนี้เป็น Square wave • สามารถต่อเข้ากับ PLC และเคาท์เตอร์ • เพื่อแสดงตำแน่ง / ความเร็ว / ทิศทาง / จำนวนรอบ • ค่าข้อมูลจะสูญหายเมื่อไฟดับ

  16. ENCODER สัญญาณ Incremental Encoder

  17. ENCODER สัญญาณ Incremental Encoder

  18. ENCODER Absolute Encoder • ใช้เทคโนโลยีสูงกว่า • ไม่ได้มีแค่ track โปร่งแสงกับทึบแสง • มีร่องหลายแถวที่ใช้แทนค่าโค้ดไบนารี่ • แต่ละแถวแทนโค้ดไบนารี่ 1 บิต • แต่ละช่องที่โปร่งแสงกับทึบแสงจะแสดง ON/OFF • แต่ละแถวจะทำงานเหมือน Incremental แต่เป็นอิสระตากกัน • ให้สัญญาณเป็นโค้ดไบนารี่สำหรับแต่ละองศา • ค่าข้อมูลไม่สูญหายเมื่อไฟดับ

  19. ENCODER Absolute Encoder

  20. ENCODER Absolute Encoder

  21. ENCODER เลขไบนารี่สำหรับ Absolute Encoder • เลขไบนารี่ที่ใช้ มีอยู่ 2 แบบ คือ • รหัสไบนารี่ (Binary code) • รหัสเกรย์(Gray codeX

  22. ENCODER Binary code • ใช้รหัสไบนารี่แทนตำแหน่งของเพลาที่หมุน 360 องศา • จำนวน sector = • แต่ละ sector จะเป็นช่วงละ

  23. ENCODER Binary code • Example : Encoder 3 bits

  24. ENCODER Binary code

  25. ENCODER ข้อเสียของ Binary code • การเปลี่ยนแต่ละ sector สัญญาณเปลี่ยนแปลงมากกว่า 1 ช่อง • หากมีสัญญาณรบกวนหรือสายหายค่าตำแหน่งจะต่างกันมาก • จึงไม่เป็นที่นิยม • เช่น encoder อยู่ที่ 011(3) มีสัญญาณรบกวนที่บิต 2 • encoder จะแสดง 111(7) หรือ

  26. ENCODER ตัวอย่าง • เช่น encoder อยู่ที่ 011 มีค่าเป็น 3 • มีสัญญาณรบกวนที่บิต2 ให้ส่งค่า ON • encoder จะแสดง 111 ซึ่งมีค่าเป็น 7 • ค่าที่อ่านได้จะแตกต่างมากเกินไป • ไม่สามรถนำไปใช้งานได้ • อาจก่อให้เกิดข้อผิดพลาดมาก

  27. ENCODER ตัวอย่าง • พิจารณา • เลข 3 = 011 • เลข 4 = 100 • เลขเปลี่ยนค่าเดียว แต่เลขไบนารี่เปลี่ยนทั้งสามหลัก • ไม่สามารถทำให้คอนโทรเลอร์ตรวจสอบได้เมื่อมีเลขผิดปกติ

  28. ENCODER Gray code • หลักการทำงานเหมือนกันกับ Icremental • แก้ไขการแสดงค่าโดยใช้ Gray code • รหัสตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง • ค่าบิตจะเปลี่ยนแปลงเพียงบิตเดียว

  29. ENCODER Gray code

More Related