1 / 23

แนวคิดการจัดการโครงการไฟฟ้าแสงอาทิตย์แบบครัวเรือน ( Solar Home System) ของ กฟภ. อย่างยั่งยืน

แนวคิดการจัดการโครงการไฟฟ้าแสงอาทิตย์แบบครัวเรือน ( Solar Home System) ของ กฟภ. อย่างยั่งยืน. เสนอ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 14 มีนาคม 2548 Chris Greacen พลังไท www.palangthai.org. โครงร่างในการนำเสนอ. การสำรวจโครงการ solar home system ของ กฟภ. ใน 3 หมู่บ้านในจังหวัดตาก

elvis-kirby
Download Presentation

แนวคิดการจัดการโครงการไฟฟ้าแสงอาทิตย์แบบครัวเรือน ( Solar Home System) ของ กฟภ. อย่างยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดการจัดการโครงการไฟฟ้าแสงอาทิตย์แบบครัวเรือน (Solar Home System)ของ กฟภ.อย่างยั่งยืน เสนอการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 14 มีนาคม 2548 Chris Greacen พลังไท www.palangthai.org

  2. โครงร่างในการนำเสนอ • การสำรวจโครงการ solar home systemของ กฟภ. ใน3หมู่บ้านในจังหวัดตาก • การฝึกอบรมระบบไฟฟ้าแสงอาทิตย์แก่ชาวกะเหรี่ยงใน วันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2548 • วิธีการทำงานร่วมกันเพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน • ทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืน

  3. ผลการสำรวจโครงการ Solar Home Systemในอำเภอท่าสองยาง จ. ตาก • วันที่สำรวจ: 6 มกราคม 2548

  4. จากการสำรวจพบว่า • ระบบส่วนใหญ่ (93%) ทำงานได้ดี • ชาวบ้านชอบ • ระบบไฟฟ้าที่ติดตั้งมีขนาดเหมาะสม • การเดินสายไฟภายในตัวบ้านทำได้ดีมาก

  5. ปัญหาที่พบ(n=105 ระบบ) • จุดบกพร่องจากการผลิตอุปกรณ์ • ขาดตัวต่อเชื่อมในกล่องต่อสายไฟ (Junction Box) ของแผงโซลาร์เซลล์ (1 ระบบ) • ต่อไดโอดผิดขั้วในกล่องสายไฟของแผงโซลาร์เซลล์ (1 ระบบ) • ตัวควบคุมการเก็บประจุ/อินเวอร์เตอร์ไม่ทำงาน (2 ระบบ) • จุดบกพร่องจากการติดตั้ง • ติดตั้งระบบ PV ในพื้นที่ที่เกิดร่มเงา (หลายระบบ) • ตัวควบคุมฯติดตั้งใต้บริเวณที่หลังคารั่ว (1 ระบบ) • การใช้งานที่ผิดพลาด • ต่อลัดวงจร (Bypass) ข้ามตัวควบคุมที่ไม่ทำงานแล้ว (หลายระบบ) • ต่อ Bypassed ผิด – ต่อผิดขั้วทำให้ไดโอดไหม้ (1 ระบบ) • มีการนำอินเวอร์เตอร์ 2 รุ่นมาต่อกันแบบขนาน ทำให้อินเวอร์เตอร์เสีย • การเคลมประกันทำได้ยากลำบาก • ชาวบ้านไม่ทราบว่าจะติดต่อใครเมื่อระบบทำงานผิดพลาดภายในเงื่อนไขการรับประกันในสัญญา

  6. จุดบกพร่องจากการผลิตอุปกรณ์:ขาดตัวต่อเชื่อมในกล่องต่อสายไฟ (Junction Box) การต่อที่ถูกต้อง ขาดหายไป ผลที่ตามมา: แผงโซลาร์เซลล์ไม่ทำงาน

  7. จุดบกพร่องจากการผลิตอุปกรณ์ : ต่อไดโอดผิดขั้วในกล่องสายไฟของแผงโซลาร์เซลล์ การต่อที่ถูกต้อง การต่อที่ไม่ถูกต้อง ผลที่ตามมา: แผงโซลาร์เซลล์ไม่ทำงาน

  8. จุดบกพร่องจากการติดตั้ง:ติดตั้งระบบในบริเวณที่มีเงาบังจุดบกพร่องจากการติดตั้ง:ติดตั้งระบบในบริเวณที่มีเงาบัง 14:00 หมู่บ้านซาเคคลา

  9. 1 การใช้งานที่ผิดพลาด: ต่อข้าม (Bypass)ตัวควบคุม ทำให้แบตเตอรี่ถูกชาร์จมากเกินไป • ชาวบ้านต่อลัดข้ามตัวควบคุมที่เสียแล้ว และทำการชาร์จแบตเตอรี่โดยตรงจากแผงโซลาร์เซลล์ • แบตเตอรี่ถูกชาร์จมากเกินไป ทำให้ระดับน้ำยาอิเล็คโทรไลท์ต่ำลง และเพลทโผล่ขึ้นมาเหนือน้ำยาทำให้แบตเตอรี่ทำงานล้มเหลว 2

  10. 1 การใช้งานที่ผิดพลาด : ต่อข้ามตัวควบคุมทำให้ไดโอดของแผงโซลาร์ไหม้ • ชาวบ้านต่อสายข้ามตัวควบคุมที่เสียแล้วและทำการชาร์จแบตเตอรี่โดยตรงจากแผงโซลาร์เซลล์ • การต่อขั้วแบตเตอรี่ผิดที่ให้ไดโอดที่อยู่ในกล่องสายไฟ (Junction Box)ของแผงโซลาร์เซลล์ระเบิดและทำให้กล่องสายไฟละลาย 2

  11. ปัญหาในการเรียกเคลมประกันปัญหาในการเรียกเคลมประกัน • เมื่อระบบไม่ทำงาน ชาวบ้านไม่รู้ว่าควรจะติดต่อใคร • ทำให้ชาวบ้านไม่เรียกประกันเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น • แผงโซลาร์เซลล์รับประกัน 5 ปี • ตัวควบคุม/อินเวอร์เตอร์รับประกัน 3 ปี • แบตเตอรี่รับประกัน 2 ปี • ชาวบ้านบางคนได้ติดต่อไปยัง กฟภ. ในจังหวัดตาก แต่นับถึงปัจจุบันยังไม่มีความคืบหน้าใดๆ

  12. การฝึกอบรมระบบไฟฟ้าแสงอาทิตย์แก่ชาวกะเหรี่ยงวันที่17-23กุมภาพันธ์2548ในหมู่บ้านแม่สะเปา จ. ตาก

  13. การฝึกอบรม: ผู้เข้าร่วมได้ฝึกติดตั้งระบบ 6ระบบ

  14. การฝึกอบรม: วิธีการเลือกที่ตั้งแผงโซลาร์เซลล์

  15. การฝึกอบรม: การใช้งานและการซ่อมบำรุงที่ถูกต้อง

  16. การปรับปรุง/ซ่อมแซมระบบ SHS ที่ไม่ทำงาน

  17. ซ่อมแซมสถานีชาร์จแบตเตอรี่ที่ไม่ทำงานแล้วของ พพ.

  18. การสร้างความยั่งยืนในการใช้ระบบโซล่าร์เซลล์การสร้างความยั่งยืนในการใช้ระบบโซล่าร์เซลล์ • สร้างกลไกให้ผู้ที่ทำการติดตั้งรับประกันว่าระบบที่ติดตั้งไปนั้นสามารถทำงานได้ดี ซึ่งรวมถึงไฟฟ้าที่มาจากแผงโซลาร์เซลล์ด้วย • กรุณาให้ข้อมูลการติดตั้งระบบไฟฟ้าในจังหวัดตาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลในรูปอิเล็คโทรนิกส์) ซึ่งประกอบด้วย: • ข้อมูลจำนวนครัวเรือน • ชื่อหมู่บ้านและจำนวนหมู่บ้าน • อำเภอ • กรุณาให้คำแนะนำวิธีการที่เราสามารถช่วยเหลือชาวบ้านซ่อมแซมระบบที่ชำรุดแต่ยังอยู่ในระยะเวลารับประกัน • สำหรับการติดตั้งระบบเพิ่มเติม ขอให้เพิ่มการระบุพิกัด GPS (ความแม่นยำ 10 เมตร) ในทุกระบบที่จะติดตั้ง

  19. ทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืนทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืน กิจกรรมหลัก • ฝึกสอนชาวบ้านในเรื่องการใช้งานและการซ่อมบำรุง และ (2) ฝึกสอนช่างเทคนิคในแต่ละอำเภอเพื่อให้สามารถซ่อมแซมระบบเบื้องต้นได้โดยการฝึกสอนมีเป้าหมายเพื่อ… (ก) ระบบสามารถทำงานได้ยาวนานมากขึ้น และ (ข) ทำให้ลดต้นทุนค่ารับประกันอุปกรณ์/ระบบ

  20. อำเภอ ทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืน

  21. ทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืนทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืน • พลังไท / กรีนเอ็มเพาเวอร์เมนท์ จัดเวิรค์ชอป/ฝึกอบรมทางด้านเทคนิคแก่ช่างเทคนิคฝึกหัด • ช่างเทคนิคจะสามารถ: • ทำการสำรวจระบบไฟฟ้า • ซ่อมแซมแก้ไขปัญหาพื้นฐานได้ • ช่วยเหลือในขั้นตอนการเคลมประกันและการเปลี่ยนแบตเตอรี่ • เป็นผู้จำหน่ายน้ำกลั่น, หลอดไฟ, ฯลฯ • ฝึกสอนชาวบ้านให้สามารถรักษาระบบให้ทำงานได้ดีในระยะยาว

  22. ขอความกรุณาทาง กฟภ. ให้การช่วยเหลือดังนี้... • ให้ข้อมูลและช่วยในการประสานงานให้ • ให้งบประมาณสำหรับช่างเทคนิคท้องถิ่น • อนุมัติให้ทีมกระเหรี่ยงเพื่อการใช้โซล่าร์อย่างยั่งยืนเป็นศูนย์กลางในการซ่อมแซมระบบที่อยู่ในระยะเวลารับประกัน

  23. ข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ: โทร. 02-674-2533 chris@palangthai.org www.palangthai.org

More Related