1 / 118

บทที่ 3 เทคนิคการเพิ่มผลผลิต

บทที่ 3 เทคนิคการเพิ่มผลผลิต. 3.1 การเพิ่มผลผลิตโดยกลุ่มคุณภาพ (QCC). ความหมายของคุณภาพและการควบคุม. “ คุณภาพ (Quality) หมายถึง คุณลักษณะและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการที่ออกแบบและผลิต หรือบริการได้ตาม ข้อกําหนดต่างๆ(มาตรฐาน)อย่างเหมาะสมและตอบสนองความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้า ”.

elsu
Download Presentation

บทที่ 3 เทคนิคการเพิ่มผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 เทคนิคการเพิ่มผลผลิต 3.1 การเพิ่มผลผลิตโดยกลุ่มคุณภาพ (QCC)

  2. ความหมายของคุณภาพและการควบคุมความหมายของคุณภาพและการควบคุม “คุณภาพ(Quality) หมายถึง คุณลักษณะและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการที่ออกแบบและผลิต หรือบริการได้ตาม ข้อกําหนดต่างๆ(มาตรฐาน)อย่างเหมาะสมและตอบสนองความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้า” “การควบคุม (Control) หมายถึง กิจกรรมต่างๆที่จําเป็นต้องมีเพื่อให้การทํางานสามารถที่จะบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด”

  3. ความหมายของการควบคุมคุณภาพความหมายของการควบคุมคุณภาพ “การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง กิจกรรมการวางแผนเพื่อควบคุมบํารุงรักษาตรวจสอบและปฏิบัติการ แก้ไขปรับปรุงการทํางานในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์หรือบริการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง” ผู้ผลิต สินค้า ลูกค้า คุณภาพ = ความพึงพอใจของลูกค้า รูปที่ 3.1 คุณภาพ

  4. PRODUCT SPEC. PRODUCT CUSTOMER SPEC. แนวความคิดเรื่องคุณภาพ • แนวความคิดเดิม : คุณภาพคือระดับที่ผลิตได้ตามมาตรฐาน คุณภาพคือระดับความพึงพอใจหรือความเหมาะสมของผู้บริโภค • แนวความคิดใหม่ :

  5. ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับคุณภาพความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับคุณภาพ

  6. คุณภาพสองชนิดที่ลูกค้าตัดสินใจซื้อคุณภาพสองชนิดที่ลูกค้าตัดสินใจซื้อ • คุณภาพที่พึงต้องมี (must be quality)หมายถึงคุณภาพที่ต้องมีอยู่อย่างครบถ้วนเป็นปกติถ้าหากไม่มีคุณภาพอย่างนี้ในสินค้าเมื่อใดแล้วลูกค้าจะไม่ซื้ออย่างแน่นอน • คุณภาพที่จูงใจซื้อ (attractive quality) หมายถึงคุณภาพที่โดยปกติจะไม่มีคุณภาพชนิดนี้อยู่ในตัวสินค้าแต่ถ้าหากมีก็จะจูงใจลูกค้าให้เกิดความสนใจที่จะซื้อขึ้นมาได้

  7. ความหมายของกลุ่มคุณภาพความหมายของกลุ่มคุณภาพ “กลุ่มคุณภาพ (Quality Control Circle : QCC) คือ กลุ่มของพนักงานในสายงานเดียวกันที่รวมตัวกันอย่างอิสระ (3-10 คน) เพื่อทำกิจกรรมเสริมสร้างคุณภาพประสิทธิภาพควบคู่ไปกับงานประจำ โดยใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือประกอบการปฏิบัติการและตัดสินใจโดยไม่ขัดต่อนโยบายบริษัท”

  8. ความจำเป็นที่ต้องมีการควบคุมคุณภาพความจำเป็นที่ต้องมีการควบคุมคุณภาพ • เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต • ลดปริมาณของเสีย • รักษามาตรฐานและผลิตภัณฑ์ • ตอบสนองความต้องการและความพอใจของลูกค้าทั้งด้าน คุณภาพและราคา • รักษาคุณภาพให้คงสภาพอยู่อย่างมั่นคง

  9. วัตถุประสงค์ของการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพวัตถุประสงค์ของการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน • พัฒนาพนักงานให้รู้จักทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักแก้ปัญหาและปรับปรุงงานอย่างมีระบบ • ปลูกฝังความสำนึกในคุณภาพของงานและผลิตภัณฑ์ • ยกระดับมาตรฐานการทำงาน • สร้างบรรยากาศการทำงานให้มีชีวิตชีวา • ลดช่องว่างระหว่างพนักงานกับผู้บริหาร • รักษาชื่อเสียงด้านคุณภาพของบริษัท • ลดต้นทุนการผลิตในระยะยาว

  10. ประโยชน์การทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพประโยชน์การทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • พนักงาน • มีส่วนร่วมในการทำงานและบริหาร • ยอมรับปัญหาและสามารถแก้ปัญหาได้ • ลดอุปสรรคในการทำงานด้านต่างๆ • พัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • สร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน

  11. ประโยชน์การทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (ต่อ) • บริษัท • เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค้าใหม่สูงขึ้น • สามารถลดค่าใช้จ่ายต่างๆลงทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง • ลดปริมาณสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานลง • เพิ่มคุณภาพและปริมาณของสินค้าให้สูงขึ้น • ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างพนักงานในทุกระดับ

  12. สาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพสาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ตอบสนองความต้องการทํางาน ความ สำเร็จ ปรารถนา เกียรติยศ-ชื่อเสียง การมีส่วนร่วม ความมั่นคง - ปลอดภัย ปัจจัย 4 รูปที่ 3.2

  13. สาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพสาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • สนองการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participation management) -เปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจประจำวัน -องค์การได้รับผลงานที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูง ภายใต้ความพอใจของพนักงาน

  14. สาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพสาเหตุที่ต้องทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • เพื่อความอยู่รอดของบุคคลและองค์กร • ลดต้นทุนการผลิต • เพิ่มประสิทธิ • ภาพในการผลิต เทคโนโลยีใหม่ๆ คงสถานภาพ ของธุรกิจ รูปที่ 3.3

  15. แนวคิดของการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพแนวคิดของการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ต้องมีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการตรวจสอบ วัด/เทียบกับมาตรฐานที่กําหนดไว้ • การควบคุณภาพบางอย่างไม่อาจใช้เครื่องมือวัด ดังนั้นอาจต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญตรวจทดสอบหรือทดลอง หรือต้องใช้เวลาพอสมควร • ควรมีการตั้งเกณฑ์คุณภาพไว้เป็นหลัก หากผลผลิตไม่ได้ใช้ไปตามเกณฑ์กําหนดก็ถือว่าขาดคุณภาพหรือขาดมาตรฐาน

  16. แนวคิดของการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (ต่อ) • เครื่องมือในการตรวจสอบต้องมีความเที่ยงตรงอยู่เสมอ • ผู้บริหารต้องอธิบายให้ทุกคนเข้าใจถึงความสําคัญของการควบคุมคุณภาพให้ทุกกระบวนการผลิตได้มาตรฐาน

  17. ระบบและวิธีการทํากลุ่มคุณภาพระบบและวิธีการทํากลุ่มคุณภาพ • ระบบกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ เป็นนระบบของการบริหารและการปฏิบัติงานที่มีเทคนิคและวิธีการบริหารที่นําไปสู่การปรับปรุงคุณภาพด้วยการทํางานเป็นทีม โดยทุกคนมีส่วน ร่วมด้านการปรับปรุงงาน โดยการสร้างสิ่งจูงใจให้มีการปฏิบัติงานด้วยความสมัครใจสอดคล้องกับนโยบาย และไม่ขัดกับระเบียบต่างๆขององค์การ

  18. การเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพการเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ตัดสินใจเริ่มโครงการโดยผู้บริหารระดับสูง • สร้างความยอมรับและร่วมมือกับผู้บริหารระดับกลาง • กําหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ • กําหนดโครงสร้างQC ให้สอดคล้องกับแผนผังการบริหารงานองค์การ • วางแผนการสัมมนาและฝึกอบรม

  19. การเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ(ต่อ)การเริ่มต้นโครงการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ(ต่อ) • กําหนดหลักเกณฑ์และระเบียบการทําQCC • วางแผนการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ • วางแผนติดตามผลและประเมินผล • เริ่มโครงการทดลองขยายผลไปทั่วองค์การ

  20. วิธีการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพวิธีการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • ประกาศนโยบาย • จัดตั้งกลุ่มคุณภาพ • วางแผน • ดําเนินการ • แถลงผลงาน • ประกาศเกียรติคุณ • ประเมินผล • ร่วมกับภายนอกองค์การ

  21. 1.ประกาศนโยบาย นโยบายที่จะพัฒนาพนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับบริหารจนถึงระดับปฏิบัติการให้มีคุณภาพมากที่สุด และเปิด โอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการบริหารงานขององค์การโดยจะต้องมีการกําหนดคุณภาพไว้อย่างชัดเจน และคํานึงถึงขอบข่ายของตลาดผลิตภัณฑ์บริการ การผลิตหรือการเสนอขายลูกค้า

  22. 2. การจัดตั้งกลุ่มคุณภาพ • สมาชิกของกลุ่มมีได้ตั้งแต่ 3-15คน • สมาชิกควรมาจากหน่วยงานเดียวกันหรือมีลักษณะงานที่ คล้ายกัน • ควรเลือกหัวหน้ากลุ่มในระยะแรกไปเมื่อถึงสักระยะหนึ่ง ค่อยให้สมาชิกกลุ่มผลัดกันเป็น • ตั้งชื่อ จัดทําสัญลักษณ์และทําคำขวัญกลุ่ม • จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่ม

  23. 3. วางแผน 1) การเลือกหัวข้อหรืองานที่จะปรับปรุง • เริ่มจากปัญหาง่ายที่เป็นปัญหาใกล้ตัว แล้วคิดว่าทําสำเร็จได้ง่าย เช่น ความพิดพลาดในงานพิมพ์การลดเวลาที่ลูกค้ารอให้ลดลง ฯลฯ • ต้องเป็นปัญหาที่สมาชิกทุกคนช่วยกันคิดและตัดสินใจเลือก

  24. 3. วางแผน รูปที่ 3.4 การเลือกหัวข้อเพื่อทำกิจกรรมคุณภาพ

  25. 3. วางแผน 2) วงจรเดมมิ่ง (Deming cycle) วงจรเดมมิ่ง คือ กระบวนการวางแผนและควบคุม การทํากิจกรรมควบคุมคุณภาพ(QCC) ซึ่งเป็นหลักการทํางานให้สําเร็จอย่างหนึ่ง รูปที่ 3.5 วงจรเดมมิ่ง

  26. 3. วางแผน P = Plan =การวางแผน D = Do =การปฏิบัติ C = Check =การตรวจสอบ A = Action =การจัดทำมาตรฐาน หรือปรับปรุงแก้ไข รูปที่ 3.6 ขั้นตอนการทำงานของหลักการเดมมิ่ง

  27. 3. วางแผน หลักการของเดมมิ่ง 1.ในการทํางานใดๆก็ตามอยากจะให้สําเร็จด้วยระยะเวลาอัน รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพก็ให้ทำตามPDCA 2.ถ้าทําตามวงจรPDCA ในครั้งแรกไม่สําเร็จ ก็ให้เริ่มทํา ตามวงจรPDCAใหม่ 3.และถ้ายังไม่สําเร็จอีก ให้เริ่มทําวงจรPDCAไปเรื่อยๆจน กว่าจะบรรลุตามเป้าหมาย

  28. การนำวงจรเดมมิ่งมาใช้กับกลุ่มกิจกรรมคุณภาพมีขั้นตอนดังนี้การนำวงจรเดมมิ่งมาใช้กับกลุ่มกิจกรรมคุณภาพมีขั้นตอนดังนี้ • วางแผน • เลือกหัวข้อปัญหา • ตั้งเป้าหมาย • กําหนดการประชุม • มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ • กําหนดวิธีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการที่ จะใช้ รูปที่ 3.7 วงจรเดมมิ่ง

  29. ปฏิบัติ • ดําเนินการประชุมสมาชิก • ค้นคว้าหาสาเหตุที่ต้องการหา • เก็บข้อมูล ศึกษาข้อเท็จจริงใน สาเหตุนั้นๆ • ทํางานตามที่ได้รับมอบหมาย • แกไขปัญหาตามที่พบสาเหตุ • หาทางปรับปรุงให้ได้ตามเป้าหมาย การตรวจสอบ • เก็บข้อมูลหลังการทํา • นําข้อมูลเปรียบเทียบ ก่อน-หลัง การแก้ไข • เปรียบเทียบผลที่ได้กับเป้าหมายที่วางไว้

  30. การปรับปรุงแก้ไข • แก้ไขสิ่งบกพร่องให้ได้ผลดีตามเป้าหมายหรือดีกว่า • ปรับปรุงวิธีการทํางานให้ได้มาตรฐาน • ปรับปรุงมาตรฐานการทํางานเพื่อไม่ให้เกิดซ้ำอีก • ปรับปรุงอุปรณ์เครื่องมือทํางานให้มีประสิทธิภาพ • วางมาตรฐานการทํางานเพื่อไม่ให้ผิดพลาดเกิดปัญญหาอีก • ถ้าไม่บรรลุผลตามเป้าหมายให้พิจารณาวางแผนใหม่

  31. 4.การดําเนินงาน การดําเนินการกิจกรรมกลุ่มคุณภาพให้ปรับแผนที่กําหนดไว้โดยต้องมีความสมดุลกันระหว่างการศึกษาค้นคว้าและการปฏิบัติ ที่สำคัญสมาชิกทุกคนจะต้องทําความเข้าใจวิธีการดำเนินกิจกรรมกลุ่มคุณภาพว่าจะต้องทําเป็นขั้นตอนและค่อยเป็นค่อยไป และจะต้องทํากิจกรรมโดยตนเองอย่างอิสระที่สุด

  32. 5.แถลงผลงาน หัวหน้ากลุ่มและสมาชิกอภิปลายผลงานที่กลุ่มได้ดําเนินการประสบความสําเร็จแล้วต่อหน้าที่ประชุมฝ่ายบริหารขององค์การ โดยมีอุปกรณ์และเอกสารประกอบ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับและเชื่อถือ

  33. 6. ประกาศเกียรติคุณ • ความเหมะสมกับเรื่องที่ทํา • การประยุกต์ใช้เทคนิคQC • ความคิดริเริ่มในการแก้ไข • การกําหนดมาตรฐาน • กระบวนวิธีการแถลงผลงาน

  34. 7. ประเมินผล • ในการทํากิจกรรมกลุ่มคุณภาพจะต้องมีการประเมินผล หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว เพื่อที่จะได้ตรวจสอบว่ากิจกรรมกล่มคุณภาพมีข้อดีข้อเสียอย่างไร จะได้แก้ไขปรับปรุงในการทํากิจกรรมครั้งต่อไป ให้สมาชิกกลุ่มและหัวหน้างานทําการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลต่างๆลงในเครื่องมือที่ออกแบบ ซึ่งโดยทั่วไปใช้กันอยู่ 2 ชนิด • ใบตรวจสอบคุณภาพ (QCC Check sheet) • แผนภูมิใยแมงมุม (Spider chart)

  35. 8. ร่วมกับภายนอกองค์การ • การพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อคิดเห็นกับ กลุ่มคุณภาพภายนอกองค์การอย่างเปิดใจ • มีแถลงผลงานกันภายในองค์การแล้วก็ให้พัฒนาสู่การ แถลงผลงานเผยแพร่ไปภายนอกองค์การ

  36. ขั้นตอนการดําเนินการ กิจกรรมกลุ่ม คุณภาพ รูปที่ 3.8 แผนผังแสดง ขั้นตอนการจัดทำ QCC

  37. 1. ค้นหาปัญหาโดยการเก็บข้อมูล • การเก็บข้อมูลกระทําได้โดย • ตรวจสอบสภาพปัจจุบัน • เปรียบเทียบมาตรฐานในการ ทํางานกับวิธีที่ทําอยู่จริง • แยกแยะข้อมูลและค้นหาจุดที่ เป็นปัญหา • รวบรวมข้อมูลของปัญหา รูปที่ 3.9 การเก็บข้อมูล

  38. 2. กําหนดเป้าหมาย • หลักในการกําหนดเป้าหมาย • พิจารณาปัญหาให้มากที่สุด • พิจารณาปัญหาของกลุ่มให้สอดคล้องกัน • พิจารณากําลังความสามารถในการแก้ปัญหา รูปที่ 3.10 การกำหนดเป้าหมาย

  39. 2. กําหนดเป้าหมาย รูปที่ 3.11 ใช้พาเรโตช่วยให้บรรลุเป้าหมาย

  40. 3. ค้นหาสาเหตุ นําปัญหาหลักที่ได้จากการวิเคราะห์มาค้นหาสาเหตุโดยใช้เทคนิคและเครื่องมือต่างๆมาช่วย เช่น แผนภูมิเหตุและผล(แผนภูมิก้างปลา) • การพิจารณาเพื่อค้นหาสาเหตุ • เลือกเอาสาเหตุที่สําคัญมา วิเคราะห์อย่างละเอียด • ใช้หลัก 4M (man,Machine,Material.Methid) • ใช้หลัก 5W1H รูปที่ 3.12 ค้นหาสาเหตุ

  41. 3. คนหาสาเหตุ การใช้เทคนิคตั้งคำถาม 5W 1H เพื่อช่วยแก้ปัญหาการทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพของสมาชิกกลุ่มที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ไม่ค่อยมีความคิดสร้างสรรค์ รูปที่ 3.13 เทคนิคการตั้งคำถาม

  42. 4. การวางแผนแก้ไข นำสาเหตุต่างๆที่วิเคราะห์จากแผนภูมิก้างปลามาวางแผนเพื่อทำการแก้ไขโดยลำดับความสำคัญของสาเหตุ • ข้อควรพิจารณาในการจัดทำแผนดำเนินการแก้ไข • ทำอะไร • ใครทำ • เสร็จเมื่อไหร่ • ทำอย่างไร • งบประมาณเท่าไหร่

  43. 5. การดำเนินการแก้ไข • แนวทางปฎิบัติ • แนะนำให้สมาชิกรู้จักวิธีการใหม่ๆ แต่บางปัญหาต้องทำไปพร้อมๆกับวิธีเดิมก่อน • ในระหว่างการดำเนินงานให้เก็บข้อมูลทั้งในเรื่องงานและพฤติกรรมของสมาชิกไว้ในกลุ่มเป็นระยะ • รายงานผลงานที่ทำให้ได้ตามความเป็นจริง

  44. 6. ตรวจสอบผลที่ได้รับ 6.1 กระบวนการตรวจสอบผลดำเนินงาน • ทำการติดตามกิจกรรมประจำวัน • สรุปผลประจำสัปดาห์หรือเป็นรายเดือน • เก็บรวบรวมข้อมูลหลังการแก้ไขปรับปรุงมาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย • ถ้าได้ผลตามเป้าหมายให้ทำมาตรฐานไว้

  45. 6. ตรวจสอบผลที่ได้รับ 6.2 ถ้าการแก้ไขไม่ผลตามเป้าหมายให้ดำเนินการใหม่ โดยสามารถทำได้โดย 2กรณี • แก้ไขปรับปรุงแผนงานที่กำหนดไว้อีกเล็กน้อย แล้วดำเนินการแก้ไข • พิจารณาวางแผนใหม่ทั้งหมดตั้งแต่ต้นหรือพิจารณาจัดหาเพียงขั้นต้นหรือพิจารณาขั้นตอนใดตอนหนึ่ง

  46. 7. กำหนดมาตรฐาน มาตรฐานที่ดี • กำหนดวิธีการแก้ไขที่ได้ปฏิบัติและเห็นผลชัดเจนในช่วงทำกิจกรรมกลุ่มในช่วงคุณภาพมาแล้ว • อ่านแล้วเข้าใจและปฏิบัติได้ง่าย • สามารถเปลี่ยนแปลงในกรณีที่จำเป็น รูปที่ 3.14 กำหนดมาตรฐาน

  47. กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (QCC)ที่ควรพิจารณาต่อไป • สาเหตุที่แก้ไขได้ แต่ยังไม่ได้แก้ไขในครั้งนี้ • ปัญหาอื่นที่ยังไม่ได้แก้ไข • ปัญหาเดิมที่ทำกิจกรรมกลุ่มเสร็จแล้ว แต่ผลยังไม่พอใจ รูปที่ 3.15 เตรียมจัดทำเรื่องต่อไป

  48. ขั้นตอนการทำกิจกรรมกลุ่ม QCC และการใช้เทคนิคคุณภาพ

  49. ความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีมความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีม 1. เทคนิคการทำงานเป็นทีม (Team Work) เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลเพื่อทำงานก่อให้เกิด ประโยชน์แก่กลุ่มมากกว่าการทำงานคนเดียว การรวมตัวกันนี้อาจเป็นการรวมตัวแบบมีแผน หรือไม่มีแผนก็ได้แต่จะมีจุดมุ่ง หมายไปในทางเดียวกัน

  50. ความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีมความหมายและองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีม • องค์ประกอบที่ประกอบข้อด้วยกันเพื่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม • วัตถุประสงค์ • กิจกรรม • วิธีการทำงาน • หน้าที่และการรับผิดชอบ • ระเบียบวินัยและการควบคุม • ความเข้าใจซึ่งกันและกัน

More Related