1 / 45

ทิศทาง ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC)

ทิศทาง ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC). นายนพพล พุชประดิษฐ์ นักวิชาการพาณิชย์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 5 มีนาคม 255 6 ( 9.30-12.00 น.) จังหวัดระนอง. เนื้อหาที่จะนำเสนอ. CAMBODIA. จากอาเซียนสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community).

elpida
Download Presentation

ทิศทาง ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทาง ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC) นายนพพล พุชประดิษฐ์ นักวิชาการพาณิชย์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 5 มีนาคม 2556 (9.30-12.00 น.) จังหวัดระนอง

  2. เนื้อหาที่จะนำเสนอ

  3. CAMBODIA จากอาเซียนสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510

  4. จากอาเซียนสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2510 Bangkok Declaration ประเทศไทย โดย พอ. พิเศษ ดร. ถนัด คอมันตร์ (อดีต รมว. กระทรวงการต่างประเทศ ผู้ผลักดันการรวมกลุ่ม ASEAN ได้สำเร็จ

  5. จากอาเซียนสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) • เป็นการจัดโครงสร้างอาเซียน โดยการปรับปรุงระบบและกลไกการทำงานภายในอาเซียนให้มีประสิทธิภาพ • ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้น กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) = ธรรมนูญแห่งอาเซียน

  6. จากอาเซียนสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ASEAN Community = ประชาคมอาเซียน (2558) ASEAN Political-Security Community: ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ASEAN Economic Community: ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community: ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน

  7. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เป้าหมาย:เพื่อให้เป็นสังคมเป็นเอกภาพ เอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม โดย เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนามนุษย์ ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมองค์กรธุรกิจ การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม ลดช่องว่างด้านการพัฒนา การสร้างอัตสักษณ์อาเซียน

  8. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง เป้าหมาย: ประชาธิปไตย โปร่งใส มีธรรมมาภิบาล คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ความร่วมมือเพื่อความสงบสุขเป็นเอกภาพ องค์ประกอบ

  9. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมาย 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก 9

  10. ความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity) Physical Connectivity Institutional Connectivity People to People Connectivity

  11. ความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity) • Physical Connectivity • ความเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐาน • คมนาคม • เทคโนโลยีสารสนเทศ • พลังงาน • Institutional Connectivity • ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ • ปรับปรุงกฎระเบียบเพื่ออำนวยความสะดวกการค้า บริการ และลงทุน • จัดทำความตกลง / ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน เช่น ความตกลงด้านการขนส่ง ระเบียบพิธีการในการข้ามพรมแดน และ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ • People to People Connectivity • ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน • การแลกเปลี่ยนด้านการศึกษาและวัฒนธรรม • การเดินทางท่องเที่ยว

  12. ความเปลี่ยนแปลงของการค้าโลก: เวทีเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 12 • ร่วมสร้างกฎเกณฑ์ทางการค้า โลกาภิวัตน์ • เสริมสร้างอำนาจต่อรอง • ขยายตลาด และแหล่งวัตถุดิบ การค้าเสรีเป็นธรรม อย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีแนวคุ้มกัน • เสาะหาโอกาสทางการส่งออก • ยึดตลาดใหม่ ช่วงชิงโอกาส • สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ

  13. ความเปลี่ยนแปลงของการค้าโลก: ทิศทางการเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรี

  14. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community) Bangkok Declaration ASEAN 2510 CEPT-AFTAAgreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area 2535 AFAS ASEAN Framework Agreement on Services 2538 AICO ASEAN Industrial Cooperation Scheme 2539 AIAFramework Agreement on the ASEAN Investment Area ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit 2541 ASEAN CharterASEAN Community + Declaration on AEC Blueprint 2550 ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement 2552 2554 ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement

  15. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE 15

  16. เป้าหมายต่อไปจาก AEC ไปสู่Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP 16 Global Engagement is Key ASEAN-Russia ASEAN-Canada ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP RCEP ASEAN-Pakistan ASEAN-India FTA AEC ASEAN-Australia- New Zealand FTA

  17. แนวความคิด >> นโยบาย AEC ชะลอการเปิดเสรี/เพิ่มเงื่อนไข ผู้ประกอบการไม่พร้อม>>มาตรการปกป้องตลาด แรงงานกลัวถูกแย่งงาน >>มาตรการปกป้องแรงงาน หารือหน่วยงานและผู้ประกอบการ แนวนโยบาย สู่ AEC 2558 >>>> สร้างความพร้อมผู้ประกอบการ >> รัฐกำหนดยุทธศาสตร์เจรจา, ให้ข้อมูล, ขยายแหล่งเงินทุน, มาตรการเยียวยา พัฒนาศักยภาพแรงงาน >>มาตรการพัฒนาฝีมือแรงงาน ปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจและกฎระเบียบให้สอดคล้อง AEC

  18. คาดการณ์ผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ของอาเซียนในปี 2558 Notes: Brunei is proxied by “Rest of South East Asia” in the simulation. No estimates for Myanmar because of serious data problems. Source: Computed by Itakura for MTR project.

  19. การค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2554

  20. 6 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไป 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification

  21. AEC กับการเปิดเสรีภาคบริการ: 12 สาขาหลัก (128 ย่อย) บริการการศึกษา บริการสื่อสาร และโทรคมนาคม บริการนันทนาการ บริการการเงิน บริการวิชาชีพ วิศวกรรม สถาปนิก กฎหมาย บริการขนส่ง บริการท่องเที่ยว บริการจัดจำหน่าย บริการสุขภาพ บริการก่อสร้าง บริการสิ่งแวดล้อม

  22. การเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพภายใต้ MRAs 8 สาขา นักบัญชี* วิศวกร สถาปนิก นักสำรวจ* แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล • วัตถุประสงค์ MRAs • เพื่ออำนวยความสะดวกแก่การเคลื่อนย้ายบุคลากภายในประเทศสมาชิกอาเซียนในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดการตรวจสอบคุณสมบัติทางการศึกษาและวิชาชีพ • เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ความชำนาญเรื่องมาตรฐานและคุณสมบัติ • เพื่อส่งเสริมให้มีการสร้างแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดสำหรับการให้บริการวิชาชีพที่ดี • เพื่อเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาและการฝึกฝนของบุคลากร นักวิชาชีพท่องเที่ยว

  23. กฎหมายพรบ.วิชาชีพทั้ง 8 สาขาภายใต้ MRAs

  24. จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2015 “การเปลี่ยนแปลงเกิดจากผลการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป AEC ไม่ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทันที แต่เป็น work in progress และเป็น ปรากฎการณ์เชิงสัญลักษณ์” • อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วม • อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน • อาเซียนดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก • อำนวยความสะดวกในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ • มีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ • พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง • เศรษฐกิจอาเซียนบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • ขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนเพิ่มสูงขึ้น • มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน

  25. จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2015: ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 25 กลุ่มที่มีวัตถุดิบและแรงงาน เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว กลุ่มที่มีความถนัดด้านเทคโนโลยี สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม

  26. จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2015: ผลกระทบด้านลบ 26 อาจถูกแย่งแรงงานวิชาชีพไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่น มีคู่แข่งทางการค้าสินค้าและการให้บริการจากประเทศอาเซียนอื่นเพิ่มขึ้น อาจถูกใช้มาตรการที่มิใช่ภาษีจากประเทศอาเซียนอื่นเพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการจากประเทศอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้น ทำให้การแข่งขันสูงขึ้น อาจถูกลอกเลียนแบบสินค้าและบริการโดยประเทศอาเซียนอื่น

  27. สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบสินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ สินค้าที่ไทยได้เปรียบสินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง กาแฟสำเร็จรูป สินค้าประมง สินค้าปศุสัตว์ (นม เนื้อไก่ ไก่แปรรูป) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ผ้าไหม น้ำตาล สินค้าอุตสาหกรรมเช่น ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ กระดาษและสิ่งพิมพ์ พลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ ยางพารา เครื่องปรับอากาศและทำความเย็น สินค้าหัตถอุตสาหกรรม สินค้าที่ไทยเสียเปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) กาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) ชา (อินโดนีเซีย) ไหมดิบ (เวียดนาม) ยา เครื่องสำอาง เครื่องจักรกล เครื่องใช้ไฟฟ้า เหล็กและเหล็กกล้า

  28. 25 บริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • บริการที่ไทยได้เปรียบ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว • อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม • บริการด้านสุขภาพเช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ ขนาดเล็ก

  29. การเคลื่อนย้ายแรงงาน

  30. การเคลื่อนย้ายแรงงาน 30 • Q: แรงงานไทยจะถูกแย่งงานจากแรงงานอาเซียน? • A: ปัจจุบันไทยมีอัตราว่างงานต่ำมากกว่าในอาเซียน และมีแนวโน้มตึงตัว/ขาดแคลน (MRAs8 สาขาวิชาชีพ เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกขั้นตอนหนึ่ง ในการรับรองคุณสมบัตินักวิชาชีพเท่านั้น ซึ่งยังคงมีรายละเอียดที่อาเซียนต้องหารือร่วมกันอีก) ที่มา:tradingeconomics.com, Bank of Thailand

  31. การเคลื่อนย้ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ)

  32. การเคลื่อนย้ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ) (ต่อ) 32

  33. การเคลื่อนย้ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ) (ต่อ) 33

  34. ความแตกต่างระหว่างการรวมกลุ่มระหว่างAEC กับสหภาพยุโรป (EU) 34 • Q: อาเซียนมีระดับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเหมือนยุโรป (EU) หรือไม่ • A: อาเซียนเป็นการรวมตัวในระดับเบื้องต้น (FTA) เท่านั้น

  35. ASEAN วาระแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) 35 แนวทางการพัฒนาเพื่อสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพ โดยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องประชาคมอาเซียน (กฎระเบียบ ข้อตกลง ภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม) (1) เตรียม ความพร้อม ธุรกิจไทย เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนการยกระดับทักษะฝีมือแรงงาน (ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม) กำหนดมาตรฐานขั้นพื้นฐานของคุณภาพสินค้าและบริการ ตลอดจนการกำหนดระบบบริหารจัดการร่วมด้านการพัฒนาทักษะและด้านคุณสมบัติของแรงงานนำเข้า เพื่อให้ได้แรงงานที่มีคุณภาพ และตรงกับความต้องการสำหรับทุกประเทศ (3) เตรียม ความพร้อม สินค้า/บริการไทย (2) เตรียม ความพร้อม แรงงานไทย

  36. ASEAN วาระแห่งชาติ: นโยบายรัฐบาล (แถลงรัฐสภา วันที่ 23 สิงหาคม 2554) 36 • นำประเทศไทยสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อมและความเข้มแข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง • เร่งดำเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งภายในและภายนอกภูมิภาค • ส่งเสริมความร่วมมือและเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประชาคมอาเซียน • สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน • เตรียมความพร้อมของทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง

  37. ASEAN วาระแห่งชาติ: ความรู้ที่บุคลากรภาครัฐต้องมี 37 • ความเป็นมา/เป้าหมายของสมาคมอาเซียน • กฎบัตรอาเซียน • ความเป็นมา/เป้าหมายของประชาคมอาเซียน • แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในแต่ละเสา ความรู้เรื่องประเทศสมาชิกอาเซียน ความรู้ ความรู้เรื่องอาเซียน • ประวัติศาสตร์ของประเทศสมาชิก • สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองของประเทศสมาชิก • จุดเด่นของแต่ละประเทศ • และอื่นๆ ความรู้เฉพาะเรื่อง ตามภารกิจของหน่วยงาน และ นโยบายต่างประเทศของไทย

  38. ASEAN วาระแห่งชาติ: ทักษะที่บุคลากรภาครัฐต้องมี 38 • ภาษาอังกฤษ (ฟัง เขียน พูด) • การประชุมนานาชาติ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย • การเจรจาต่อรอง • การบริหารความเสี่ยง • การติดต่อประสานงาน ทักษะเฉพาะ ทักษะทั่วไป • ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน • การวิเคราะห์ตลาด/การวิเคราะห์คู่แข่ง • การวางแผนเชิงกลยุทธ์ • การยกร่าง MOU สัญญาระหว่างประเทศ • การบริหารแรงงานต่างด้าว • การวางแผนกำลังคนเชิงกลยุทธ์

  39. ASEAN วาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 2555-2564 การใช้อาเซียนเป็นฐานไปสู่เวทีโลก การยกระดับประเทศเข้าสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่า การสร้างขีดความสามารถให้ผู้ประกอบการและวิสาหกิจ การสร้างสภาพแวดล้อมภายในประเทศที่เอื้อต่อการแข่งขันและเป็นธรรม การส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการค้า ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564

  40. ASEAN วาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 2555-2564 ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564

  41. ASEAN วาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 2555-2564 ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564

  42. ASEAN วาระแห่งชาติ 42 เปรียบเทียบอันดับความสามารถในการแข่งขันของไทย โดยสถาบัน IMD และ WEF ปี พ.ศ. 2547-2555 ที่มา:IMD World Competitiveness Year Book 2003-2012, สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  43. ASEAN วาระแห่งชาติ 43 อันดับศักยภาพการแข่งขันของประเทศในอาเซียน โดยสถาบัน IMD ปี พ.ศ. 2546-2555 ที่มา:IMD World Competitiveness Year Book 2003-2012, สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  44. ASEAN วาระแห่งชาติ เปรียบเทียบความสามารถการแข่งขัน 4 ด้าน ที่มา:IMD World Competitiveness Year Book 2011, 2012, สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  45. ขอบคุณ Call Center : 0-2507-7555 www.dtn.go.th

More Related