1 / 25

12.4 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

12.4 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ. (AC Circuit). V max. ไฟฟ้ากระแสสลับ ( Alternating Current ).

elina
Download Presentation

12.4 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 12.4 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Circuit)

  2. Vmax ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current ) แบตเตอรี่ เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่จ่ายแรงเคลื่อนไฟฟ้า (emf) ค่าสม่ำเสมอและมีค่าคงตัว ส่วนแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ac source) เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่จ่ายแรงเคลื่อนไฟฟ้า(emf) หรือแรงดันไฟฟ้า (Voltage) เปลี่ยนแปลงตามเวลา (ในรูปฟังก์ชันซายน์ของwt ): V = Vmaxsin wt w =2pf • = ความถี่เชิงมุม T = คาบเวลา = 1/f = 2p/w ไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้ในบ้านพักอาศัย ของประเทศไทยมีความถี่ f เท่ากับ 50 Hz = 50 คลื่น/sec.

  3. วงจรไฟฟ้าที่มี R อย่างเดียว แรงดันไฟฟ้าคร่อมตัวต้านทานไฟฟ้าจะมีค่า เปลี่ยนแปลงเหมือนกับกระแสไฟฟ้า I = V/R = Imax sin wt การเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้า มีเครื่อง หมายเหมือนกับการเปลี่ยนแปลงของกระแส ไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้ามีเฟสตรงกัน (in phase). และแอมปลิจูดอยู่ที่เวลาเดียวกัน.

  4. ค่า rms เนื่องจากในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับค่าเฉลี่ยแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าจะมีค่าเป็นศูนย์. ดังนั้นการแสดงค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าจะแสดงในรูปของค่า root mean square หรือ ค่า rms .นั่นเอง ค่า rms ของกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าสำหรับไฟฟ้ากระแสสลับ สามารถนำมาเปรียบเทียบกับปริมาณสมมูล (equivalent quantities) ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง. Vrms = IrmsR Pav = Irms2R = Vrms2/R

  5. RMS ของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า Vrms = Square root of the mean (average) of V-squared. ค่ากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มี R อย่างเดียว ซึ่งมีค่าคงตัว (ไม่ขึ้นอยู่กับกราฟระหว่าง V กับ t)

  6. ไฟฟ้าในบ้านพักอาศัย • ประเทศไทย: 220 V, 50 Hz AC • Vrms = 220 V, Vmax = ( 2) 220 V = 311 V • Circuit Breakers ตัวที่ Irms = 15 A Imax = ( 2 ) 15 A =21.2 Amp • กำลังไฟฟ้าสูงสุดจะมีค่าเป็น: • P = Irms Vrms < (15A) (220 V) = 3300 W

  7. คำถาม ตัวต้านทานไฟฟ้าขนาด 33 kW ต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มี ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุดเท่ากับ 101 V. ให้หา (ก) กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย และ (ข) กำลังไฟฟ้าสูงสุดของวงจรไฟฟ้านี้.

  8. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตัวเก็บประจุไฟฟ้า (Capacitor) อย่างเดียว ค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุไฟฟ้าเรียกว่า capacitive reactance คำนวณจากสมการXC = 1/(wC) SI unit ของค่ารีแอกแตนซ์คือ Ohm (W) = s/F Vrms = IrmsXC หรือ Vmax = ImaxXC แรงดันไฟฟ้าจะมีเฟสล้าหลัง (lag) กระแสไฟฟ้าเท่ากับ 90°. V=Q/C: ขณะที่ I>0 จะเกิดการประจุไฟฟ้าแก่ตัวเก็บประจุไฟฟ้า ส่วนขณะที่ I<0 ตัวเก็บประจุไฟฟ้าจะเกิดการจ่ายไฟ ค่ากำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(average power) ของตัวเก็บประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับจะมีค่าเป็นศูนย์. ทุก ½ คาบเกิดการประจุไฟฟ้าและช่วง ½ คาบต่อไปตัวเก็บประจุไฟฟ้าจะจ่ายไฟ

  9. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มีขดลวด (Inductor) อย่างเดียว ค่ารีแอกแตนซ์ของขดลวดเรียกว่าinductive reactanceคำนวณค่าจากสมการXL = wL SI unit ของค่ารีแอกแตนซ์คือOhm (W) = H/s Vrms = IrmsXL หรือVmax = ImaxXL แรงดันไฟฟ้ามีเฟสนำหน้า (Lead) กระแสไฟฟ้าเท่ากับ 90°. แรงดันไฟฟ้าทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าจะมีค่าสูงสุดเมื่อกระแสไฟฟ้าเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วที่สุด ค่ากำลังไฟฟ้าเฉลี่ย(average power) ของขดลวดในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับจะมีค่าเป็นศูนย์.

  10. เครื่องตัดวงจรไฟฟ้า • ใช้ฟลักซ์แม่เหล็กในวงจรความปลอดภัยทางไฟฟ้า • ขณะที่กระแสไฟฟ้าทางด้านอินพุทและเอาท์พุทมีค่าเท่ากันจะมีฟลักซ์แม่เหล็กทางด้านขดลวดทุติยภูมิเท่ากับศูนย์ • ถ้าเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านส่วนอื่นๆ ลงสู่กราวด์ (เช่น ผ่านร่างกายคน!!) ทำให้เกิดความไม่สมดูลของฟลักซ์แม่เหล็กเกิดขึ้นซึ่งจะเหนี่ยวนำให้เกิด EMF ในขดลวดรับรู้ (sensing coil) และทำการตัดวงจรของเบรกเกอร์ (Circuit Breaker). • อุปกรณ์ประเภทนี้ใช้เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าช็อค.

  11. RC circuits:Filters & AC-coupling I • การต่ออนุกรมวงจรไฟฟ้า RC circuit กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอุปกรณ์ทุกชิ้นจะมีค่าเท่ากัน. • แรงดันไฟฟ้าที่คร่อมตัวต้านทานไฟฟ้าจะมีเฟสตรงกับกระแสไฟฟ้า. • แรงดันไฟฟ้าที่คร่อมตัวเก็บประจุไฟฟ้าจะล้าหลังกระแสไฟฟ้าเท่ากับ ¼ คาบ. • ผลรวมค่าความต้านทานไฟฟ้าและรีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุไฟฟ้ามีค่าเท่ากับค่าอิมพีแดนซ์ (impedance) คำนวณได้จากสมการ I

  12. RC Circuit:Equivalent Circuit Irms Vrms = Z

  13. Irms Vrms Vout สำหรับw >> 1/(RC), Vout 0 สำหรับ w << 1/(RC), Vout Vrms RC Circuit:Filter • ค่าแรงดันไฟฟ้าเอาท์พุต (output voltage) ของวงจรไฟฟ้าจะเป็นฟังก์ชันของความถี่ w ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า.

  14. C Vout Vrms Irms RC Circuit:AC Signal Coupling • เมื่อพิจารณาสัญญานไฟฟ้าที่คร่อมตัวต้านทานไฟฟ้า (ที่นำมาต่อแทนตัวเก็บประจุไฟฟ้า) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับจะทำการตัดการไบแอสไฟฟ้ากระแสตรงทางด้านอินพุทและส่งผ่านสัญญานความถี่สูงออกไปทางเอาท์พุท

  15. C Vout Vrms Irms AC Coupling • ที่ความถี่สูง, w >>1/(RC),ตัวเก็บประจุไฟฟ้าจะเกิดการลัดวงจรไฟฟ้า, Vout = Vrms • ที่ความถี่ต่ำ, w << 1/(RC), ตัวเก็บประจุไฟฟ้าจะเกิดการเปิดวงจรไฟฟ้า, Vout0

  16. VL VR V=I Z VC การต่ออนุกรม RLCThe RLC Series Circuit ค่าความต้านทานไฟฟ้าเสมือน (effective resistance) ของวงจรไฟฟ้าเรียกว่า ค่าอิมพีแดนซ์ (impedance Z): Imax = Vmax / Z Irms = Vrms / Z SI unit ของอิมพีแดนซ์ คือ ohm

  17. เรโซแนนซ์ (Resonance) ในวงจรไฟฟ้าอนุกรม RLC กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอนุกรม RLC มีค่าตามสมการ กระแสไฟฟ้ามีค่าสูงสุดเมื่อ XL = XC ที่ค่าความถี่เรโซแนนซ์ wคือ

  18. ความถี่เรโซแนนซ์ของวงจรไฟฟ้าความถี่เรโซแนนซ์ของวงจรไฟฟ้า • วงจรไฟฟ้าอนุกรม RLC • ความถี่เรโซแนนซ์ (resonant frequency) จะขึ้นอยู่กับค่า C และ L เท่านั้น คำนวณได้จากสมการ

  19. เฟสเซอร์(Phasors) • V=V0sin(wt) อาจเขียนอยู่ในรูปของเวกเตอร์ที่มีความยาว V0 หมุนอยู่ในระนาบ x-y ด้วยค่าความถี่เชิงมุมเท่ากับ w. • สำหรับตัวต้านทานไฟฟ้า, I = V/R, • I มีเฟสตรงกับ V. • สำหรับตัวเก็บประจุไฟฟ้า IRMS = VRMS (wC), • I นำหน้า V เท่ากับ ¼ คาบ หรือมุมเฟส = 90° • สำหรับขดลวด IRMS = VRMS / (wL) • I ล้าหลัง V เท่ากับ ¼ คาบ หรือมุมเฟส = 90°

  20. VL I VR VC Z V VL-VC XL-XC f f R VR PF = Phasors (RLC Series) การแสดงค่า กระแสไฟฟ้า และ แรงดันไฟฟ้า ที่คร่อมขดลวด (VL), ตัวเก็บประตัวประจุไฟฟ้า (VC) และ ตัวต้านทานไฟฟ้า (VR) ด้วยเวกเตอร์ไดอะแกรมเรียกว่า เฟสเซอร์. กระแสไฟฟ้า I จะมีทิศขนานกับ VR .ตลอดเวลา ซึ่งในกรณีที่ทำการต่ออนุกรมมักจะให้กระแสไฟฟ้าอยู่ในแนวแกน x : fคือมุมเฟสของวงจรไฟฟ้า Power Factor (PF)

  21. IC 1/Z 1/XC - 1/XL f V 1/R IR IL I IC-IL f IR Phasors (RLC Parallel) แรงดันไฟฟ้า V จะมีทิศขนานกับ IR ตลอดเวลา ซึ่งในกรณีที่ทำการต่อขนาน มักจะให้แรงดันไฟฟ้าอยู่ในแนวแกน x : มุมเฟส ? Power Factor (PF) ?

  22. เฟสเซอร์ในรูปจำนวนเชิงซ้อนเฟสเซอร์ในรูปจำนวนเชิงซ้อน • เฟสเซอร์ phasor เป็นเลขจำนวนเชิงซ้อนที่ใช้แสดงค่าแอมพลิจูดและเฟสของคลื่นรูปซายน์(sine wave). • จำนวนเชิงซ้อน มีรูปแบบเป็น C = A + Bj เมื่อ เมื่อ C คือ จำนวนเชิงซ้อน A และ B คือ จำนวนจริง (real number) และ จำนวนจินตภาพ (Imaginary) ตามลำดับ

  23. Impedance Diagrams RLC Series XL Resistor ZR = R 0 Capacitor ZC = XC -90 Inductor ZL = XL 90 R XC

  24. กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับกำลังไฟฟ้าเฉลี่ยของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ กำลังไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าจะคำนวณของ R อย่างเดียวเท่านั้น

  25. พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในชีวิตประจำวันพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในชีวิตประจำวัน พลังงานไฟฟ้าที่เราซื้อในชีวิตประจำวันจะมีหน่วยเป็น kWh หรือ กิโลวัตต์-ชั่วโมง. ถ้าเราใช้ตู้ไมโครเวฟขนาด 1000 W เป็นเวลา 1 ชั่วโมง นั่นคือเราใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากับ 1 kWh พลังงานไฟฟ้าที่เก็บสะสมในแบตเตอรี่ มีหน่วยเป็น Ah หรือ แอมแปร์-ชั่วโมง เนื่องจากแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่มีค่าค่อนข้าง คงตัว.

More Related