1 / 56

การ ใช้คู่มือการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก แรก เกิด – 5 ปี(สำหรับบุคลากรสาธารณสุข)

การ ใช้คู่มือการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก แรก เกิด – 5 ปี(สำหรับบุคลากรสาธารณสุข). Macquarie University. วัตถุประสงค์ของคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ. 1 . เพื่อค้นหาและเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการ 2. เพื่อจัดโปรแกรมการสอนเด็กเป็นรายบุคคล 3. เพื่อติดตามความก้าวหน้าของพัฒนาการและ

Download Presentation

การ ใช้คู่มือการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก แรก เกิด – 5 ปี(สำหรับบุคลากรสาธารณสุข)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้คู่มือการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี(สำหรับบุคลากรสาธารณสุข)

  2. Macquarie University

  3. วัตถุประสงค์ของคู่มือส่งเสริมพัฒนาการวัตถุประสงค์ของคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ 1. เพื่อค้นหาและเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการ 2. เพื่อจัดโปรแกรมการสอนเด็กเป็นรายบุคคล 3. เพื่อติดตามความก้าวหน้าของพัฒนาการและ เป็นแนวทางในการวางแผนการสอนขั้นต่อไป

  4. คู่มือการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี ประกอบด้วย : 1. คู่มือแนะนำการใช้ 1 เล่ม 2. คู่มือทดสอบและฝึกทักษะแบ่งตามช่วงอายุ 1 เล่ม

  5. คู่มือฯแบ่งพัฒนาการเป็น 5 ด้าน 1. การเคลื่อนไหว (Gross Motor : GM) 2. การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก/สติปัญญา (Fine Motor : FM) 3. ความเข้าใจภาษา (Receptive Language : RL) 4. การใช้ภาษา (Expressive Language : EL) 5. การช่วยเหลือตนเอง/สังคม (Personal Social : PS)

  6. คู่มือฯแบ่งพัฒนาการเป็น 2 ส่วน • แบบทดสอบเพื่อการ คัดกรอง มีทั้งหมด 50 ข้อด้านละ 10 ข้อ • แบบประเมินพัฒนาการเด็ก มีทั้งหมด300ข้อ ด้านละ 60 ข้อ

  7. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว 6 ขั้นตอน 3ด. 6ด. 9ด. 12ด. 15ด. 18ด. 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี

  8. พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก/สติปัญญา 10 ขั้นตอน 3ด. 6ด. 9 ด. 12ด. 15ด. 18ด. 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี

  9. พัฒนาการด้านความเข้าใจภาษา 6 ขั้นตอน 3ด. 6ด. 9ด. 12ด. 18ด. 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี

  10. พัฒนาการด้านการใช้ภาษา 5 ขั้นตอน 3ด. 6ด. 9ด. 12ด. 15ด. 18ด. 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี

  11. พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเอง/สังคม 5 ขั้นตอน 3ด. 6ด. 9ด. 12ด. 15ด. 18ด. 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี

  12. หลักการส่งเสริมพัฒนาการหลักการส่งเสริมพัฒนาการ 1. ประเมินพัฒนาการแรกรับ - การทดสอบเพื่อการคัดกรอง - ประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 2. สรุปผลการประเมินพัฒนาการ 3. วางแผนการสอนระยะยาว 4. วางแผนการสอนระยะสั้น 5. สอนตามแผนการสอนระยะสั้น 6. ประเมินความก้าวหน้า

  13. ขั้นตอนการประเมินพัฒนาการเด็กขั้นตอนการประเมินพัฒนาการเด็ก 1. การทดสอบเพื่อการคัดกรองเพื่อหา จุดเริ่มต้น ในการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 2. การประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดเพื่อประโยชน์ในการ จัดโปรแกรมการสอน เด็กเป็นรายบุคคล

  14. หลักการทดสอบเพื่อการคัดกรองหลักการทดสอบเพื่อการคัดกรอง 1.คำนวณอายุจริงของเด็ก 2.หาจุดเริ่มต้นของอายุพัฒนาการแต่ละด้านที่จะคัดกรอง วิธีการ - สอบถามพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูโดยใช้คำถาม ทั่วไป หรือถามตามหัวข้อพัฒนาการใน แบบคัดกรอง - สังเกตการเล่นของเด็ก 3.ทดสอบพัฒนาการทีละด้าน จากจุดเริ่มต้นของอายุพัฒนาการที่จะคัดกรอง 4. หยุดทดสอบในพัฒนาการด้านนั้น เมื่อเด็กทำไม่ได้

  15. วิธีคำนวณอายุเด็ก เริ่มจาก วัน เดือน และปี โดยเอาวันที่ทำการทดสอบเป็นตัวตั้ง วันเดือนปีเกิดเด็กเป็นตัวลบ ถ้าวันตัวตั้งจำนวนน้อยกว่าให้ยืมที่เดือนมา 1 เดือน ( 30 วัน ) ถ้าตัวตั้งเดือนน้อยกว่าตัวลบ ให้ยืมที่ ปี 1 ปี ( 12 เดือน ) ตัวอย่าง1 6 + 12

  16. หลักการทดสอบเพื่อการคัดกรองหลักการทดสอบเพื่อการคัดกรอง 1.ในขณะทดสอบต้องไม่ให้ความช่วยเหลือหรือ ชี้แนะเด็ก 2. กรณีเด็กไม่ให้ความร่วมมือในการทดสอบ - ให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเป็นผู้ทดสอบ - ซักถามพ่อแม่ หรือ ผู้เลี้ยงดู

  17. ตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรองตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรอง ชื่อ ด.ญ. แพรว อายุ 5 ปี 2 เดือน ด้าน GM อายุ 2 ปี 27.วิ่งเต็มฝ่าเท้าไปข้างหน้า 2 เมตร + อายุ 3 ปี 39.เดินบนเส้นตรงกว้าง 5 ซม. ได้ 3 เมตร -

  18. ตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรองตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรอง ด้าน FM อายุ 3 ปี 32. เลียนแบบการวาดรูปวงกลม + อายุ 4 ปี 46.วาดรูปคนที่มีส่วนของร่างกาย 3 ส่วน -

  19. ตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรองตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรอง ด้าน RL อายุ 3 ปี 32. เลือกวัตถุขนาดใหญ่ + อายุ 4 ปี 47. วางวัตถุไว้ข้างหน้า ข้างหลัง ข้าง ๆ ห่าง ๆ ข้างบน และข้างใต้ ตามคำสั่ง -

  20. ตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรองตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรอง ด้าน EL อายุ 3 ปี 32. พูดตอบรับและปฏิเสธ + อายุ 4 ปี 43. บอกชื่อจริงและนามสกุลเต็มได้ -

  21. ตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรองตัวอย่างการทดสอบเพื่อการคัดกรอง ด้าน PS อายุ 2 ปี 30. ไม่ร้องไห้เมื่อแยกจากแม่ + อายุ 3 ปี 44. ถอดกระดุมขนาดใหญ่ 2 ซม.ได้ 3 เม็ด -

  22. สรุปการคัดกรองเพื่อการทอสอบสรุปการคัดกรองเพื่อการทอสอบ + - (ข้อสูงสุดที่เด็กทำได้) (ข้อแรกที่เด็กทำไม่ได้) ด้าน GM 27 39 ด้าน FM 32 46 ด้าน RL 32 47 ด้าน EL 32 43 ด้าน PS 30 44

  23. หลักการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดหลักการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 1.ประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด จะประเมินต่อ จากข้อสูงสุดที่เด็กทำได้ในการทดสอบเพื่อ คัดกรอง ในพัฒนาการแต่ละด้าน จนกระทั่งถึง ข้อแรกที่เด็กทำไม่ได้ 2.ประเมินพัฒนาการทีละด้านจนครบ 5 ด้าน

  24. หลักการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดหลักการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 3. ในขณะทดสอบ ต้องไม่ให้ความช่วยเหลือหรือ ชี้แนะเด็ก 4. กรณีเด็กไม่ให้ความร่วมมือในการทดสอบ - ให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเป็นผู้ทดสอบ - ซักถามพ่อแม่ หรือ ผู้เลี้ยงดู

  25. การประเมินพัฒนาการละเอียดการประเมินพัฒนาการละเอียด • จากกรณีตัวอย่าง จะประเมินพัฒนาการละเอียดแต่ละด้าน ดังนี้ GM เริ่มที่ 28 - 38 FM เริ่มที่ 33 - 45 RL เริ่มที่ 33 - 46 EL เริ่มที่ 33 - 42 PS เริ่มที่ 31 - 43

  26. ตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ประเมินที่ข้อ 33 -45 อายุ 2-3 ปี ( หน้า 63 เล่มฟ้า)

  27. ตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ประเมินที่ข้อ 33 -45 อายุ 3-4 ปี

  28. ตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ประเมินที่ข้อ 33 - 45 อายุ 3-4 ปี

  29. การสรุปผลการประเมินพัฒนาการการสรุปผลการประเมินพัฒนาการ นำผลการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดที่เด็กทำได้ มาคิดอายุพัฒนาการ โดยให้คะแนนข้อละ 1คะแนน

  30. วิธีการให้คะแนน 1 . ให้คะแนนโดยอัตโนมัติกับทุกข้อ ก่อนข้อที่เริ่มต้น ประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 2. นับคะแนนข้อที่ทำได้หลังเสร็จสิ้นการประเมิน พัฒนาการอย่างละเอียด 3. รวมคะแนนทั้งหมดเป็นอายุพัฒนาการ(คะแนนข้อ1 และ 2 รวมกัน)

  31. การนับอายุพัฒนาการ คะแนนก่อนประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด …… คะแนน คะแนนหลังการประเมิน ฯ …… คะแนน รวม = …… คะแนน ประมาณการอายุพัฒนาการด้าน…….ได้ ……ปี …… เดือน

  32. กิจกรรมนับอายุพัฒนาการกิจกรรมนับอายุพัฒนาการ • จากกรณีตัวอย่าง ให้ผู้อบรมนับอายุพัฒนาการจากการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด

  33. การนับอายุพัฒนาการ คะแนนก่อนประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 32คะแนน คะแนนหลังการประเมิน ฯ 11คะแนน รวม = 43คะแนน ประมาณการ อายุพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาได้ 3 ปี 7 เดือน

  34. ตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด ด้านการเคลื่อนไหว ประเมินที่ข้อ 28 - 38 อายุ 2-3 ปี ( หน้า 32เล่มฟ้า )

  35. ตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด ด้านการเคลื่อนไหว ประเมินที่ข้อ 28 - 38 อายุ 2-3 ปี ( หน้า 32 เล่มฟ้า )

  36. ตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดตัวอย่างการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด ด้านการเคลื่อนไหว ประเมินที่ข้อ 28 - 38 อายุ 2-3 ปี ( หน้า 32 เล่มฟ้า )

  37. การนับอายุพัฒนาการ คะแนนก่อนประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด 27คะแนน คะแนนหลังการประเมิน ฯ 6คะแนน รวม = 33คะแนน ประมาณการ อายุพัฒนาการด้าน การเคลื่อนไหวได้ 2 ปี 9 เดือน

  38. กราฟพัฒนาการ วัตถุประสงค์ เพื่อ - รายงานพัฒนาการแรกรับ - รายงานความก้าวหน้าของเด็กทุกรอบการ ประเมิน

  39. กราฟพัฒนาการ วิธีการ - นำจำนวนข้อที่เด็กทำได้จากการประเมินพัฒนาการละเอียดในแต่ละด้าน(อายุพัฒนาการแต่ละด้าน) บันทึกไว้ในแกนพัฒนาการแต่ละด้านที่กำหนดไว้ให้ครบทั้ง 5 ด้าน - ลากเส้นประเพื่อแสดงอายุจริงของเด็ก - บันทึกวันที่ ที่ทำกราฟทุกครั้ง - ใช้สีที่แตกต่างกันในการลากเส้นกราฟแต่ละครั้ง

  40. กิจกรรม การสรุปผลการประเมินพัฒนาการ • จากกรณีตัวอย่าง ให้ผู้อบรมสรุปผลการประเมินพัฒนาการลงในกราฟในคู่มือฯ(สีน้ำเงิน)หน้า 1

  41. สรุปผลการประเมินพัฒนาการสรุปผลการประเมินพัฒนาการ อายุจริง 5 ปี 4 ปี วันที่ทดสอบ 1. ................................... 2. .................................. 3.7 ปี X 3 ปี 2 ปี 1ปี 0 ปี GM FM RL EL PS

  42. ตัวอย่างกราฟสรุปผลการทดสอบพัฒนาการตัวอย่างกราฟสรุปผลการทดสอบพัฒนาการ อายุจริง 3.8 ปี อายุจริง 3.3 ปี 2.9 ปี 2.7 ปี 1.9 ปี 1.6 ปี 1.2 ปี 1.2 ปี 0.9 ปี 0.8 ปี 0.6 ปี 0.3 ปี การเคลื่อนไหว การเข้าใจภาษา การใช้ภาษา การช่วยเหลือตัวเอง และสังคม การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และสติปัญญา อายุพัฒนาการ อายุจริง อายุพัฒนาการ อายุจริง

  43. แผนการสอน ประกอบด้วย : 1. แผนการสอนระยะยาว 2. แผนการสอนระยะสั้น

  44. แผนการสอนระยะยาว • เป็นการวางเป้าหมายการสอนทุกด้านในระยะยาว(3-6 เดือน) โดย - คัดเลือกหัวข้อที่เด็กไม่ผ่านการประเมินในแต่ละหมวดมา • วางแผนเพื่อกำหนดเป็นเป้าหมาย ด้านละ ประมาณ 4 ข้อ(ตามแบบฟอร์มในคู่มือฯเล่มสีน้ำเงินหน้า 2) - ระบุปัญหาพฤติกรรมของเด็ก

  45. แผนการสอนระยะสั้น • เป็นการวางแผนการสอนแต่ละด้านในระยะสั้น(ประมาณ 2 สัปดาห์) โดย - ดึงหัวข้อที่เด็กไม่ผ่านการประเมินในแต่ละหมวดตามแผนยาวมาเป็นหัวข้อการสอนในแต่ละวัน (ตามแบบฟอร์มในคู่มือฯเล่มสีน้ำเงินหน้า 3)

  46. การเขียนแผนการสอนระยะสั้นการเขียนแผนการสอนระยะสั้น ประกอบด้วย : - วัตถุประสงค์ คือ หัวข้อการสอนที่เลือกเป็นแผนการสอนระยะสั้น - อุปกรณ์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอนแต่ละข้อ ซึ่งผู้สอนต้อง ระบุชนิด ขนาดและสี ตลอดจนลักษณะพิเศษ อื่นๆ ชัดเจนที่สุด - วิธีการ คือ คำสั่งที่ผู้สอนใช้ในการสอนเด็ก ในแต่ละข้อซึ่ง ต้องระบุให้ชัดเจน - การเสริมแรง คือ การให้สิ่งที่เด็กชอบเมื่อเด็กทำได้และทำให้เด็ก อยากทำพฤติกรรมนั้นอีก

  47. กิจกรรมการเขียนแผนการสอนระยะยาวและสั้นกิจกรรมการเขียนแผนการสอนระยะยาวและสั้น • จากกรณีตัวอย่าง ให้ผู้อบรมเขียนแผนการสอนระยะยาวและสั้น (ลงในแบบฟอร์มในคู่มือฯเล่มสีน้ำเงินหน้า 2-3)

  48. ตัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาวตัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาว (จากกรณีตัวอย่าง) : ชื่อเด็ก ด.ญ. แพรว วัน เดือน ปี เกิด ..................................อายุ ............ ปี ...... เดือน ผู้ฝึก ประภาพรรณ ระยะเวลา พ.ค.– ส.ค. 2557 วัตถุประสงค์การสอน ด้านการเคลื่อนไหว 1. 2. 3. 4.

  49. ตัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาวตัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาว ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา 1. (35) ต่อก้อนไม้สี่เหลี่ยมลูกบาศก์เป็นหอสูงได้ 8 ก้อน 2. (45) เลียนแบบวาดรูปตัววี 3. ด้านความเข้าใจภาษา 1. 2. 3. 4.

  50. ตัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาวตัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาว ด้านการใช้ภาษา 1. 2. 3. 4. ด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม 1. 2. 3. 4. พฤติกรรมทั่วไป ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………

More Related