1 / 20

แนวโน้มราคาบุหรี่ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี ( FTA) ของประเทศไทย

แนวโน้มราคาบุหรี่ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี ( FTA) ของประเทศไทย. รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน์ ศูนย์ศึกษานโยบายเพื่อการพัฒนา (CDePS) คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการ บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5 5-6 มิถุนายน 2549. การค้าระหว่างประเทศและการค้าเสรี.

elaina
Download Presentation

แนวโน้มราคาบุหรี่ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี ( FTA) ของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มราคาบุหรี่ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) ของประเทศไทย รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน์ ศูนย์ศึกษานโยบายเพื่อการพัฒนา (CDePS) คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการ บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5 5-6 มิถุนายน 2549

  2. การค้าระหว่างประเทศและการค้าเสรีการค้าระหว่างประเทศและการค้าเสรี • การค้าระหว่างประเทศช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ละประเทศผลิตและส่งออกสินค้าที่ตนเองมีความพร้อมและได้เปรียบ และนำเข้าสินค้าอื่นจากประเทศอื่น • มีความเข้าใจผิดว่าการเปิดประเทศยอมให้มีการนำเข้าและส่งออกสินค้าได้ แม้ยังมีอุปสรรคทางการค้า คือการค้าเสรี • แต่จริง ๆ แล้วการค้าเสรีคือการค้าระหว่างประเทศที่ไม่มีอุปสรรคทางการค้า ไม่ว่าจะเป็นภาษีนำเข้าหรืออุปสรรคอื่น ๆ เช่น โควต้า

  3. ไทยลงนามในข้อตกลงการค้าเสรีกับหลายประเทศ เช่น • AFTA กับกลุ่มประเทศอาเซียนในปี 2535 และมีผลสมบูรณ์ในปี 2551 • FTA กับสหรัฐอเมริกาเมื่อ 23 ตุลาคม 2545 • FTA-ASEAN กับจีนเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2545 • FTA กับบาห์เรนเมื่อ 29 ธันวาคม 2545 • ITFTA กับอินเดียเมื่อ 9 ตุลาคม 2546 • FTA กับเปรูเมื่อ 20 ตุลาคม 2546 • CER-FTA กับออสเตรเลียมีผลบังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 • CEP กับนิวซีแลนด์เมื่อเมษายน 2548 มีผลบังคับตั้งแต่ 1กรกฎาคม 2548

  4. ประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทยประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทย • การส่งออก สิงคโปร์ ฟิลลิปปินส์ และมาเลเซีย เป็นผู้ซื้อใบยาสูบพันธ์เวอร์จิเนีย ออสเตรเลีย ฟิลลิปปินส์ และมาเลเซีย เป็นผู้ซื้อใบยาสูบพันธ์โอเรียลตัล กัมพูชา และมาเลเซีย เป็นผู้ซื้อใบยาสูบพันธ์เบอร์เลย์ เมียนมาร์ สิงคโปร์ และลาว เป็นผู้ซื้อบุหรี่

  5. ประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทยประเทศเหล่านี้บางประเทศเป็นคู่ค้าบุหรี่ที่สำคัญของไทย • การนำเข้า สหรัฐอเมริกา และจีนเป็นผู้ขายรายใหญ่สำหรับใบยาสูบพันธ์เบอร์เลย์และเวอร์จิเนีย มาเลย์เซีย กลุ่มประเทศอินโดจีน และเมียนมาร์เป็นผู้ขายใบยาสูบพันธ์ต่าง ๆ อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ มาเลย์เซีย และสิงคโปร์เป็นผู้ขายบุหรี่ที่มีส่วนแบ่งกว่า 80% ของการนำเข้าบุหรี่ทั้งหมด สหรัฐอเมริกาและจีน มีส่วนแบ่งประมาณ 7% จีน ฟิลลิปปินส์ และสิงคโปร์เป็นผู้ขายซิการ์รายใหญ่ให้กับไทย

  6. ที่สำคัญคือกรณีของอินเดีย และจีน • ASEANไทยลดอัตราภาษีนำเข้าบุหรี่และยาสูบจากสมาชิกกลุ่ม ASEAN ลงเป็น 5% แล้ว นับแต่ปี 2543 • อินเดียไทยจะลดอัตราภาษีนำเข้าบุหรี่และยาสูบที่ผลิตในอินเดียจาก 60% เป็น 0% ในปี 2549 • จีน ไทยจะลดอัตราภาษีนำเข้าบุหรี่และยาสูบที่ผลิตในจีนจาก 60% เป็น 0% ในปี 2553 • FTA กับประเทศอื่น ๆ ก็เป็นไปในลักษณะเดียวกัน

  7. โดยทฤษฎี การค้าเสรีนำไปสู่ Specialization ซึ่งส่งผลให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น บริโภคมากขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น ความเป็นอยู่ดีขึ้น

  8. อัตราภาษีนำเข้าลดลงทำให้อัตราภาษีนำเข้าลดลงทำให้ ใบยานำเข้าราคาถูก ทำให้ต้นทุน การผลิตบุหรี่ในประเทศต่ำลง บุหรี่นำเข้าราคาถูกลงประชาชนสูบมากขึ้น การบริโภคเพิ่มขึ้น รายรับภาษีของรัฐเปลี่ยนไป

  9. โดยผ่านทางโครงสร้างราคาบุหรี่โดยผ่านทางโครงสร้างราคาบุหรี่ ราคา c.i.f. ราคาโรงงาน + ภาษีนำเข้า +ภาษีสรรพสามิตและภาษีสุขภาพ + กำไร + ภาษีบำรุงท้องถิ่น + ภาษีมูลค่าเพิ่ม ราคาขายปลีก

  10. อัตราภาษีนำเข้าปี 2546 • บุหรี่ • AFTA 5% • ไม่ใช่ AFTA 22.5% • ใบยาสูบและอื่น ๆ • AFTA 5% • ไม่ใช่ AFTA 45 หรือ 60%

  11. ภาษีอื่น ๆ ในปี 2546 • ภาษีสรรพสามิต = 75% (บุหรี่, 79% ในปัจจุบัน) 10% (ซิการ์) • ภาษีสุขภาพ = 2% ของมูลค่าภาษีสรรพสามิต • ภาษีบำรุงท้องถิ่น = ประมาณซองละ 1 บาท • ภาษีมูลค่าเพิ่ม = 7 %

  12. แนวการศึกษาผลกระทบของ FTA วิธีการปกติ มุมมองอื่น ๆ ในกรณีบุหรี่ ราคาบุหรี่ที่ลดลง การเพิ่มขึ้นของการค้าระหว่างประเทศ การสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น CS and PS การผกผันของการค้าระหว่างประเทศ รายรับจากภาษี ผลต่อสุขภาพ

  13. แต่บุหรี่เป็นสินค้าที่ถูกควบคุมราคาแต่บุหรี่เป็นสินค้าที่ถูกควบคุมราคา • ดังนั้น การที่อัตราภาษีนำเข้าลดลง ก็ไม่ได้ทำให้ราคาบุหรี่ถูกลงถ้ารัฐไม่ปรับราคาลงตามไปด้วย • ผลก็คือบริษัทบุหรี่ได้รับผลดีที่เกิดจาก FTA บุหรี่ไว้ทั้งหมด • บริษัทใดที่มี Import Content มาก ก็ได้มาก • นั่นคือบุหรี่นำเข้าได้กำไรเพิ่มขึ้นมากกว่าโรงงานยาสูบได้ • ในอีกด้านหนึ่ง รายรับภาษีบุหรี่ของรัฐบาลก็ลดลง

  14. บุหรี่นำเข้า: กรณีไม่ปรับราคาขายปลีก ราคา t1 A t0 Pw +margin B Pw D ปริมาณ 0 M0 สวัสดิการเศรษฐกิจเปลี่ยน = dPS = B กำไรเปลี่ยน = (A+B)-A = B

  15. บุหรี่ในประเทศ: กรณีไม่ปรับราคาขายปลีก ราคา S t1 A t0 B D ปริมาณ 0 M0 สวัสดิการเศรษฐกิจเปลี่ยน = dPS = B กำไรเปลี่ยน= (A+B)-A = B

  16. ไม่ควรใช้วิธีปกติในการวิเคราะห์ผลของ FTA ในกรณีของบุหรี่และยาสูบ • บุหรี่และยาสูบเป็นสินค้าที่เรียกว่า Bad ไม่ใช่ Good • เป็นสิ่งเสพย์ติด เช่นเดียวกับ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด • เป็นสิ่งที่ทำลายเราเหมือนกับอุปกรณ์การเล่นการพนันทุกชนิด • ไม่อาจกล่าวได้ว่าการบริโภคสินค้าเหล่านี้เพิ่มขึ้นจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น

  17. ผลกระทบของ AFTA อย่างเดียว ไม่ปรับราคาขายปลีก บุหรี่นำเข้า บุหรี่ในประเทศ กำไร11.27% กำไร0.02% รายรับภาษีของรัฐ  1,177 ล้านบาท รายรับภาษีของรัฐ  8 ล้านบาท

  18. ถ้าปรับราคาขายปลีกไปตามสัดส่วนถ้าปรับราคาขายปลีกไปตามสัดส่วน บุหรี่นำเข้า บุหรี่ในประเทศ การบริโภค  380 ล้านบาท ( 89 ล้านมวน) การบริโภค  2.7 ล้านบาท (0.7 ล้านมวน) รายรับภาษี  1,027 ล้านบาท รายรับภาษี 7 ล้านบาท คนตายเพราะบุหรี่ 134 คนต่อปี

  19. ทั้งหมดที่ประมาณมายังไม่รวม FTA กรณีอื่น ๆ • โดยเฉพาะกรณีของอินเดียและจีน • ทั้งสองประเทศมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าไทยและประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนซึ่งได้ประโยชน์จาก AFTA • ผลกระทบที่กำลังจะเกิดขึ้นกับไทยจึงน่าจะรุนแรงกว่าในกรณีของ AFTA

  20. บุหรี่นำเข้าราคาถูกกว่าที่จะเริ่มทะลักเข้ามาบุหรี่นำเข้าราคาถูกกว่าที่จะเริ่มทะลักเข้ามา • จากอินเดียตั้งแต่ปีนี้ (2549) • จากจีนในอีก 4 ปีข้างหน้า (2553) ความรุนแรงจะมากกว่ากรณีของ AFTA • ซึ่งเป็นสิ่งที่จะต้องดูแลตรวจสอบต่อไป

More Related