1 / 45

หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ( Mathematics Curriculum of Japan)

หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ( Mathematics Curriculum of Japan). หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ( Mathematics Curriculum of Japan ). นายธีระพงษ์ มุ่งชู รหัส471108117 นายไกรวุฒิ พันธุ์พรหม รหัส471108137 นายวสันต์ ศรีแสน รหัส 471108138 เสนอ

edison
Download Presentation

หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ( Mathematics Curriculum of Japan)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น(Mathematics Curriculum of Japan)

  2. หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น(Mathematics Curriculum of Japan) นายธีระพงษ์ มุ่งชู รหัส471108117 นายไกรวุฒิ พันธุ์พรหม รหัส471108137 นายวสันต์ ศรีแสน รหัส 471108138 เสนอ อาจารย์ศรีจันทร์ ทานะขันธ์ อาจารย์สุนทร ไชยชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

  3. หน้าหลักระบบและทิศทางการศึกษาในประเทศญี่ปุ่นการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่น- มาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับโรงเรียนชั้นประถมศึกษา-มาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับโรงเรียน มัธยมต้น- เกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนมัธยมปลาย- รูปแบบความแตกต่างของคณิตศาสตร์แต่ละช่วงชั้น

  4. ระบบทิศทางและการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่น(The system trend and task of Mathematics Education in Japan)

  5. สรุประบบการศึกษา ( The outline of Educational system )- ตั้งแต่การปฏิรูปการศึกษาหลังสงครามโลกครั้งที่สองประเทศญี่ปุ่นได้นำเอาระบบโรงเรียน 6 – 3 – 3 – 4 มาใช้- การศึกษาภาคบังคับ 9 ปีสำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 6 ขวบจนถึง 15 ปีประกอบด้วยชั้นประถมศึกษา 6 ปี ( ป.1 –ป.6 ) และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอีก 3 ปี ( ม.1 –ม.3 ) อัตราการลงทะเบียนของนักเรียนทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นในการศึกษาภาคบังคับนี้และเป็นที่สำคัญนักเรียนทั้งหมดทุกคนจะได้เรียนหลักสูตรเดียวกัน- ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรและวิชาเรียนจะมีความหลากหลายมากกว่าเดิม- ในโรงเรียนระดับชั้นมัธยมตอนปลายมีการแบ่งแยกการศึกษาออกเป็นประเภทๆอย่างกว้างขวางและมีการแบ่งการศึกษาเป็นพิเศษๆออกไปตามแต่ละหลักสูตร- สำหรับหลักสูตรเฉพาะทางนั้นได้แบ่งแยกออกเป็นการพาณิชย์การอุตสาหกรรมการกสิกรรมการประมงภาษาอังกฤษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์- ทางโรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนเป็นการเรียนภาคปกติการเรียนภาคค่ำการเรียนทางไปรษณีย์- สำหรับวิทยาลัยเทคนิคนั้นจะแบ่งแยกกันระหว่างการศึกษาระดับมัธยมปลายและการศึกษาระดับสูงเป็นเวลา 5 ปี- สำหรับการศึกษาขั้นสูงจะมีมหาวิทยาลัยวิทยาลัยขนาดเล็กวิทยาลัยเทคนิคและสถาบันชั้นสูงที่จัดตั้งโดยกระทรวงอื่นๆนอกเหนือจากกระทรวงศึกษาธิการกระทรวงวิทยาศาสตร์กระทรวงวัฒนธรรม

  6. หลักสูตรในปัจจุบัน ( The current curriculums ) จุดประสงค์และลักษณะที่สำคัญของการเรียนหลักสูตรใหม่ ( Aim and characteristics of the new courses of studies ) จุดประสงค์( Aim ) บนพื้นฐานในการปฏิบัติอย่างสมบูรณ์แบบของโรงเรียนทั้ง 5 วันแต่ละโรงเรียนควรพัฒนาความโดดเด่นทางการศึกษาภายในขอบเขตของการทำงานที่ทำให้เป็น“ห้องเรียนเพื่อความเติบโต” ( room to grow ) และขณะที่การทำให้แน่ใจโดยผ่านการรับเอาเด็กด้วยสื่อประกอบพื้นฐานแห่งการเรียนรู้ออกจากหลักสูตรการเรียนและการคิดอย่างอิสระ

  7. ลักษณะของหลักสูตร ( characteristics ) - การแบ่งชั้นที่หลักสูตรต้องการองค์ประกอบเล็กๆของวิชาเรียน - สร้างความแข็งแกร่งของการเรียนที่ชี้นำไปสู่ความถนัดทางเฉพาะตัวของนักเรียน - การสร้างการเรียนการสอนที่รวบรวมการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์ - ขยายหลักการโดยอนุญาตให้โรงเรียนสามารถตกแต่งแก้ไขหลักสูตรได้ - ลดชั่วโมงการสอที่เข้มงวดกับการเลือกเรียนตามความพอใจ - เน้นย้ำเกี่ยวกับประสบการณ์การแก้ไขปัญหากิจกรรมการเรียนการสอน - ขยายตัวเลือกทางการเรียน - สร้างความแข็งแกร่งด้วยการประเมินด้วยข้อมูลการอ้างอิง

  8. วิชาเรียนและชั่วโมงเรียนมาตรฐานสำหรับชั้นประถมศึกษาวิชาเรียนและชั่วโมงเรียนมาตรฐานสำหรับชั้นประถมศึกษา วิชาเรียนและชั่วโมงเรียนมาตรฐานสำหรับชั้นมัธยมต้น

  9. การควบคุมหลักสูตร การอนุมัติหนังสือเรียน หลักสูตรการเรียน หลักสูตรวิชาเรียน (ขั้นวางแผน) อนุมัติให้หนังสือเรียน (ขั้นปฏิบัติงาน) (ขั้นประเมินผล) การวางแผนการเรียน การปฏิบัติงาน - การประเมินผล

  10. แบบเรียนของประเทศญี่ปุ่นแบบเรียนของประเทศญี่ปุ่น (Japanese Lesson study) - แบบเรียนเป็นเครื่องมือที่สำคัญเพื่อการปรับปรุงบทเรียนเป็นการวางรากฐานของหลักการของ”การวางแผนทำรับรู้” ( Plan – DO – See ) และการพัฒนาภายในหลักการศึกษาของญี่ปุ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลจากการวิจัยของครูเพื่อนร่วมงานการสอนในห้องเรียนการอภิปรายการสอนของพวกเขาและติดตามผลการอภิปรายเพื่อเป็นแนวทางในการประชุมการเรียนการสอนต่อไป - ในชนิดของการสะสมข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอนในระดับชั้นเรียนช่วยยกระดับการศึกษาให้ดีขึ้นอย่างไม่ต้องสงสัยว่าแบบเรียนทำไมจึงดึงดูดความสนใจของคนทั่วโลก

  11. การศึกษาคณิตศาสตร์ของญี่ปุ่นในปัจจุบัน ( Mathematics education Today in Japan ) - ในปีค.ศ. 1977 ได้มีการแก้ไขหลักสูตรที่ถูกใช้ไปแล้วการให้ความสำคัญส่วนใหญ่ไปที่การเตรียมการศึกษาด้วยห้องเรียนเพื่อความเติบโต ( room to grow ) ในหลักสูตรนี้ได้ลดองค์ประกอบของคณิตศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นลงตามที่ได้มีการลดชั่วโมงเรียนลง - หลักสูตรที่ปรับปรุงแล้วถูกตอบรับด้วยดีจากทางโรงเรียนทั่วไปดูได้จากบรรยากาศการเรียนในโรงเรียนผ่อนคลายมากขึ้นในขณะที่คนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์เห็นการแก้ไขดั่งเป็นความสามารถพื้นฐานและการสอนทักษะการคิดคำนวณ - ในทางกลับกันทิศทางของการวิจัยกับการศึกษาคณิตศาสตร์มีทิศทางไปด้วยความเอาใจใส่ต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความสนุกสนานกับการรวมยอดการพัฒนาของการคิดเชิงคณิตศาสตร์ - ในปีค.ศ.1989 หลักสูตรฉบับปรับปรุงได้ให้ความสำคัญในการนำศีลธรรมทางคณิตศาสตร์มาช่วยพัฒนาการศึกษาของจิตใจขณะที่ปีค.ศ. 2002 หลักสูตรฉบับปรับปรุงได้ให้ความสำคัญกับความสนุกสนานด้วยการคิดเชิงคณิตศาสตร์รวมทั้งวัตถุประสงค์ไว้ด้วยเป้าหมายของความเข้าใจต่อการเรียนคณิตศาสตร์ที่ทำให้เด็กๆมีความสามารถที่จะเรียนด้วยกับตัวพวกเขาเองและคิดด้วยตัวพวกเขาเอง คลิก กลับสู่หน้าหลัก

  12. การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่นการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่น บทนำ เราควรจะคิดว่าหลักสูตรแต่ละหลักสูตรการเปรียบเทียบกันแต่ละหลักสูตรโดยการทดลองทำจริงเราจะค้นหาความแตกต่างท่ามกลางพวกเขาและแต่ละงานซึ่งได้รับการพิจารณาลงไปมากเกี่ยวกับหลักสูตรใหม่ของประเทศญี่ปุ่น มาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์ใหม่สำหรับโรงเรียนชั้นประถมศึกษา ( New Mathematics Curriculum Standards for Elementary School ) - ประกาศโดยกระทรวงภาษาและการศึกษาของญี่ปุ่น 1.จุดประสงค์สำคัญ การทำความรู้บนพื้นฐานของนักเรียนและความเชี่ยวชาญชำนาญโดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะของคณิตศาสตร์กับตัวเลขและปริมาณและแผนภาพและยิ่งไปกว่านั้นเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถที่เป็นในทางตรรกศาสตร์มีเหตุมีผลการคาดคะเนล่วงหน้าและการนำไปใช้ประโยชน์การสังเกตรู้คุณค่าความสำคัญของคณิตศาสตร์

  13. 2.เป้าหมายและความพอใจของแต่ละชั้น2.เป้าหมายและความพอใจของแต่ละชั้น ชั้นที่หนึ่ง (1st) จุดประสงค์ 1. ให้นักเรียนมีไหวพริบเกี่ยวกับจำนวนนับโดยใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่เป็นรูปธรรมและอื่นๆสามารถที่จะเข้าใจความหมายจำนวนนับตัวเลขความหมายของการบวกการลบให้สามารถคิด คำนวณได้ 2. ให้มีพื้นฐานและประสบการณ์ในเรื่องปริมาณและการวัดและมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับจำนวนและปริมาณ 3. ให้มีพื้นฐานและประสบการณ์เพื่อเข้าใจเกี่ยวกับแผนภาพผ่านกิจกรรมการใช้อุปกรณ์เครื่องมือ ที่เป็นไปในรูปธรรมมีไหวพริบที่เกี่ยวกับ Diagram

  14. เนื้อหาสาระ ตัวเลขและการคำนวณ 1. ให้นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของตัวเลขโดยสามารถที่จะเปรียบเทียบจำนวนตัวเลขโดยการกระทำ - การที่นับและแสดงตัวเลขได้อย่างถูกต้องแน่นอน - การกระทำซึ่งเป็นอนุกรมและแสดงตัวเลขได้อย่างมีเหตุผล - มองตัวเลขสิ่งที่ผ่านมากับตัวเลขอื่นๆเป็นการเพิ่มหรือลดและอื่นๆ - มีความเข้าใจความหมายเกี่ยวกับตัวเลข 1 – 100 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของการเพิ่มและการลบบวกลบตัวเลขได้ - รู้ถึงกรณีที่ใช้ในการลบและการเพิ่มการแสดงที่ออกมาเป็นสูตร - การเพิ่มมีเหตุผลระหว่าหนึ่งตัวเลขและการลบการบวกสามารถที่จะคำนวณได้อย่างแน่ นอน 3. สามารถนับสิ่งต่างๆได้เพื่อแสดงออกมาได้อย่างมีระเบียบ

  15. ปริมาณและการวัด ให้นักเรียนมีประสบการณ์และพื้นฐานและความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและปริมาณ และการวัดเบื้องต้นที่เปรียบเทียบกันกิจกรรมการวัดความยาวอุปกรณ์เครื่องมือ - เปรียบเทียบความยาวโดยตรง - มีเหตุผลหนึ่งความยาวของวัตถุเป็นต่อหน่วยและการเปรียบเทียบความยาว แผนภูมิ ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของความเข้าใจโดยกิจกรรมการสังเกตและการประดิษฐ์สังเกตเห็นรูปร่างของวัตถุและการจับจุดของรูปต่างๆ - การเปรียบเทียบได้อย่างถูกต้องการแสดงตำแหน่งจุดและอุปกรณ์ภาษาศาสตร์

  16. ชั้นที่สอง (2nd) จุดประสงค์ 1. ให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถเข้าใจเกี่ยวกับความเท่ากันความหมายของการเพิ่มและการลดลงและเข้าใจความหมของการคูณและสามารถหาวิธีคิดคำนวณได้ 2. นักเรียนเข้าใจในหน่วยของความยาวและการวัดและปริมาณ 3. มีประสบการณ์พื้นฐานและเข้าใจในแผนภาพ เนื้อหาสาระ จำนวนและการคำนวณ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจความหมายของตัวเลขและวิธีแสดงและการพัฒนาความสามารถนับจำนวนได้ - เข้าใจในการนับ - เข้าใจเกี่ยวกับเลขสี่หลัก - เข้าใจที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขการจัดเรียงตัวเลขง่ายๆเข้ากลุ่มเดียวกันได้ 2.เข้าใจความหมายของการบวกและการลบและสามารถนำไปใช้ได้ - ความสัมพันธ์ระหว่างการเพิ่มและการลบ - ความเข้าใจในการคำนวณมีพื้นฐานในการคำนวณได้อย่างมั่นใจ - ให้มีเหตุมีผลในการหารวิธีการคำนวณ 3.ให้มีความเข้าใจในความหมายของการคูณและสามารถนำไปใช้ได้ - รู้หลักในการคูณและสามารถแสดงเป็นสูตรได้ - คุณสมบัติง่ายๆของการคูณเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับการคูณ - การสามารถที่จะคูณตัวเลขได้

  17. ปริมาณและการวัด 1. เข้าใจในความหมายของความยาวสามารถที่จะวัดความยาวสิ่งของตัวอย่างง่ายๆได้ - เข้าใจในความหมายของหน่วยการวัด - รู้หน่วยของความยาวมิลลิเมตร ( mm. ) เซนติเมตร ( cm. ) เมตร ( m. ) - สามารถที่จะอ่านเวลาบอกเวลาในชีวิตประจำวันได้ แผนภูมิ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานรูปร่างของรูปเรขาคณิตเบื้องต้นเส้นตรงสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยมสามารถวาดรูปได้

  18. ชั้นที่สาม 3rd จุดประสงค์ ( Aim ) 1. ทำให้นักเรียนใช้การบวกการลบได้อย่างเหมาะสมและยิ่งไปกว่านั้นทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของการคูณและนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของหน่วยปริมาณน้ำหนักเวลาและหน่วยของการวัด 3. มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายในเรื่องแผนภาพเบื้องต้นและพื้นฐานของแผนภาพ 4. ทำให้นักเรียนสามารถที่จะแสดงข้อมูลตามเนื้อหาที่จัดเรียงไว้หรือเป็นกราฟเข้าใจในการนำไปใช้เนื้อหาสาระ

  19. ตัวเลขและการคำนวณ 1. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลขและพัฒนาความสามารถที่จะใช้ตัวเลขได้ - รู้หน่วยของ 10000 เลขห้าหลัก - รู้ขนาดของตัวเลขที่หารด้วย 10 ลงตัวและวิธีแสดงมัน ทำให้เข้าใจเกี่ยวกับความเข้าใจของขนาดที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขจำนวน 2.ทำให้นักเรียนคำนวณการบวกการลบได้อย่างแน่นอนและพัฒนาความสามารถของพวกเขาตามจุดประสงค์ - มีเหตุผลความคิดคำนวณการเพิ่มและการลบของตัวเลขสามหลักโดยอาศัยพื้นฐานจากตัวเลขสองหลัก - การเพิ่มที่กำลังคำนวณและการลบอย่างแน่นอนและให้ได้ตามจุดประสงค์ - มีคุณสมบัติตรวจสอบอย่างรอบคอบในการเพิ่มและการลบประกอบด้วยกันและคำนวณอย่างมีเหตุผล 3. ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการคูณและยิ่งกว่านั้นเพื่อการคำนวณได้อย่างแน่นอนและพัฒนาความสามารถของพวกเขาได้อย่างเหมาะสม - มีเหตุผลและวิธีการคิดคำนวณเลขสองหลักสามหลักที่คูณด้วยเลขหนึ่งหลักสองหลักคูณด้วยสองหลักตามความเข้าใจของการคำนวณโดยอาศัยสูตรคูณ - สามารถคูณได้อย่างเหมาะสม - มีความรอบคอบรู้ถึงสมบัติของการคูณและการกระทำของการคูณอย่างมีเหตุผล 4. ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจความหมายของการหารและนำไปใช้ได้ - รู้กรณีที่ใช้ในการหารและเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและเศษเหลือ - เข้าใจความสัมพันธ์การหารการคูณหรือการหักออก - การหารที่คำนวณทั้งสองหนึ่งตัวหารและผลหารหนึ่งผลหารได้อย่างมั่นใจ 5. ทำให้นักเรียนมีความชำนาญที่จะแสดงตัวเลขในลูกคิดและคำนวณการเพิ่มการลบอย่างง่ายวิธีแสดงตัวเลขวิธีแสดงตัวเลขในลูกคิดการคำนวณการเพิ่มการลบโดยการใช้ลูกคิด

  20. ปริมาณและการวัด 1. ให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของความยาวปริมาณน้ำหนักและบนกรณีง่ายดายสามารถที่จะวัดค่าของเหล่านี้ - รู้หน่วยของความยาวกิโลเมตร (Km) - เข้าใจในความหมายของหน่วยของการวัดเกี่ยวกับปริมาณและน้ำหนัก - มีความหน่วยของปริมาณลิตร( l) - มีความรู้หน่วยของน้ำหนักกรัม (g) 2. เพื่อทำให้นักเรียนสามารถประมาณคาดคะเนในความยาวและนักเรียนสามารถทำการวัดค่ามันและเลือกหน่วยได้ตามความเหมาะสม 3. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องของเวลา - รู้ในเรื่องของเวลาวันเวลาชั่วโมงนาทีวินาทีและความสัมพันธ์ของเวลา - ตัวอย่างง่ายๆของเวลาและความจำเป็นของเรื่องเวลา แผนภูมิ 1. นักเรียนมีความสังเกตถึงกิจกรรมรูปร่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างแผนภาพเข้าใจในพื้นฐานของแผนภาพ - ทรงสี่เหลี่ยมรูปทรงสร้างส่วนของแผนภาพ - เป้าหมายของแผนภาพสร้างจัตุรัสสี่เหลี่ยมมุมฉากสามเหลี่ยมการวาดสิ่งเหล่านี้ ความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเขและเกี่ยวกับปริมาณ 1. ทำให้นักเรียนแสดงข้อมูลในเนื้อหาหรือกราฟง่ายๆและอ่านข้อมูลกราฟง่ายๆได้ - ข้อมูลของการจัดการเข้ากลุ่ม - อ่านและวาดกราฟได้

  21. ชั้นที่สี่ 4th จุดมุ่งหมาย ( Aim ) 1. ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการหารและใช้มันได้รวมทั้งเกี่ยวกับความเข้าใจของความหมาย 2. ให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องความหมายของพื้นที่และสามารถหาค่าของพื้นที่จากแผนภาพอย่างง่ายได้และยิ่งกว่านั้นเพื่อทำให้พวกเขาเข้าใจความหมายในเรื่องขนาดของมุม 3. มีเป้าหมายถึงการการสร้างส่วนประกอบเข้าใจบนพื้นฐานนของแผนภาพ 4. ทำให้นักเรียนแสดงให้เห็นพิจารณาของตัวเลขและปริมาณหรือความสัมพันธ์ต่างๆโดยการใช้สูตรและกราฟและยิ่งกว่านั้นให้ผู้เรียนพบความสัมพันธ์ตามจุดประสงค์

  22. เนื้อหา จำนวนและการคำนวณ 1. ให้นักเรียนมีความเข้าใจของจำนวนเต็ม - หน่วยสิบร้อยพันหมื่นแสนล้านและเข้าใจเกี่ยวกับเลขจำนวน 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจตัวเลขที่เป็นวงกลมกรณีที่ใช้เป็นวงกลม 3. ทำให้เข้าใจเกี่ยวกับการหารจำนวนเต็มและนักเรียนสามารถคำนวณได้อย่างแน่นอนและยิ่งไปกว่านั้นเพื่อพัฒนาความสามารถของพวกเขา - เหตุผลเกี่ยวกับการหารแบ่งแยกที่สิ่งนั้นมีตัวหารเป็นหนึ่งตำแหน่งหรือสองตำแหน่งและเงินปันผลเป็น 2 ตำแหน่งหรือ 3 ตำแหน่งโดยอาศัยการคำนวณเป็นพื้นฐาน - ตรวจสอบอย่างระมัดระวังความสัมพันธ์ท่ามกลาง ( dividend, divisor,quotient ) และเศษเหลืออยู่การรวบรวมสูตรดังต่อไปนี้ ( dividend ) = ( divisor ) * ( quotient ) + ( remainder ) - ตรวจสอบอย่างระมัดระวังของคุณสมบัติของการหารและมีเหตุผลวิธีการคำนวณและนำไปใช้ประโยชน์ 4. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของตัวเลขทศนิยมและยิ่งไปกว่านั้นเข้าใจความหมายของการเพิ่มและการลบของตัวเลขทศนิยมได้ 5. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจนาความหมายของเศษส่วนและสามารถแสดงออกมาได้ - การใช้เศษส่วนและแสดงทีเหมือนกับการหารและรู้แสดงเศษส่วน - รู้ถึงเศษส่วนสามารถที่จะถูกแสดงเวลาเป็นหน่วยของเศษส่วนได้

  23. ปริมาณและการวัด 1. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของพื้นที่ในกรณีง่ายๆวัดค่าพื้นที่ - หน่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและความหมายของการวัดพื้นที่ - รู้หน่วยของพื้นที่ ( cm) - มีเหตุผลและวิธีในการใช้เครื่องมือวัดพื้นที่ของจัตุรัสและสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องของขนาดของมุมและการวัดค่าของมุม - รู้ขนาดของมุมรอบและเกี่ยวกับความเข้าใจหน่วยของมุมและการวัดมุม - รู้หน่วยของมุม (  ) แผนภูมิ จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้สังเกตวิธีทำของแผนภาพเกี่ยวกับความเข้าใจของพื้นฐานของแผนภาพ - มีเป้าหมายการสร้างส่วนประกอบของสามเหลี่ยมหน้าจั่วสามเหลี่ยมด้านเท่าและยิ่งกว่านั้นการทีพวกเขาสามารถวาดและรู้จักมุม - รู้จักมุมในพื้นฐานของแผนภาพ - รู้จักจุดศูนย์กลาง ( center ) เส้นผ่านศูนย์กลาง ( diameter ) และรัศมีของวงกลมการวาดวงกลมลูกบาศก์เกี่ยวกับวงกลม

  24. ความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขและปริมาณความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขและปริมาณ 1. เพื่อทำให้นักเรียนเห็นความสัมพันธ์ของจำนวนสองจำนวนหรือปริมาณสิ่งที่เปลี่ยนเช่นเดียวกัน - กรณีง่ายๆตัวเลขที่มีเหตุผลหรือปริมาณที่ปะติดปะต่อกันโดยแสดงคำเป็นตาราง - สามารถอ่านกราฟการเปลี่ยนแปลงของกราฟได้ 2. ทำให้นักเรียนแสดงความสัมพันธ์ของตัวเลขหรือปริมาณเป็นสูตอย่างง่ายและการอ่านได้ - สูตรที่ผสมกันเกี่ยวกับความเข้าใจที่ใช้ในการคำนวณได้อย่างแน่นอน - เกี่ยวกับความเข้าใจแนวความคิดในการใช้สูตร 3.ทำให้นักเรียนสามารถที่จะรวบรวมข้อมูลตามจุดประสงค์และกลุ่มการค้นหาและตรวจสอบอย่างระมัดระวังตามรูปแบบ - กรณีที่เกิดขึ้นบนสองสาเหตุ - ตรวจสอบอย่างระมัดระวังเกี่ยวกับข้อมูลและการทับสองครั้งซ้อนของข้อมูล - ตรวจสอบกราฟได้ [ ระบบคำศัพท์/สัญลักษณ์ ] ผลรวม,ความแตกต่าง,ผลคำตอบ,ผลหารจำนวนเต็ม ,จำนวนเชิงเส้น,ทศนิยม,เศษส่วน,เศษส่วนแท้ ,เศษเกิน

  25. ชั้นที่ห้า 5th จุดประสงค์( Aim ) 1.ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของทศนิยมและเศษส่วนและวิธีแสดงและทำให้พวกเขาเข้าใจความหมายของการคูณและการหารทศนิยมรู้ถึงการคำนวณและใช้ได้อย่างเหมาะสมและทำให้พวกเขาเข้าใจในความหมายของการบวกและการลบของเศษส่วนและรู้วิธีคำนวณรวมถึงวิธีใช้ด้วย 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกขึ้นเกี่ยวกับการวัดพื้นที่และให้สามารถที่จะวัดพื้นที่ของแผนภูมิพื้นฐานได้ 3.พิจารณาถึงโครงสร้างส่วนประกอบและตำแหน่งและความสัมพันธ์ของแผนภูมิเพื่อให้นักเรียนเข้าใจพื้นฐานมากขึ้น 4.ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลสถิติเช่นการใช้เปอร์เซ็นหรือแผนภูมิวงกลมและยิ่งกว่านั้นแสดงตัวเลขและความสัมพันธ์ของสมการและค้นหาความสัมพันธ์ของสมการและค้นสหาความสัมพันธ์ของสมการ เนื้อหาสาระ ตัวเลขและการคำนวณ 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจในคุณสมบัติของจำนวนเต็ม -สามารถที่จะแยกจำนวนคู่และจำนวนคี่ได้ 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงจำนวนเต็มและทศนิยมในระบบจำนวนเต็มและสามารถคำนวณได้อย่างได้ผล สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวเลขเช่น 10 เท่า 100เท่า 1/10 หรือ 1/100

  26. 3.ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของการคูณการหารของเลขจำนวนเต็มและสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม3.ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของการคูณการหารของเลขจำนวนเต็มและสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม -เข้าใจความหมายของการคูณการหารของเลขจำนวนเต็ม -เข้าใจบนพื้นฐานของการคูณการหารจำนวนเต็มและเข้าใจความหมายของการคูณการหารทศนิยม -มีหลักการเกี่ยวกับการคำนวณการคูณการหารของเลขทศนิยมและสามารถที่จะคำนวณได้รวมทั้งเข้าใจถึงเศษเหลือ 4.นอกจากให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องเศษส่วนแล้วต้องให้พวกเขาเข้าใจถึงความหมายของการบวกและการลบเศษส่วน -มีเป้าหมายที่แท้จริงเข้าใจเรื่องของเศษส่วนอย่างง่ายได้ -สามารถจัดเรียงจำนวนเต็มและทศนิยมที่เป็นเศษส่วนและเศษส่วนเป็นทศนิยม -เข้าใจถึงผลลัพธ์ของการหารจำนวนเต็มสามารถที่จะแสดงเป็นเศษส่วนได้ -รู้ถึงวีการคำนวณการบวกและการลบของเศษส่วนโดยที่ส่วนนั้นเท่ากันและสามารถคำนวณได้ 5.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกซึ้งของจำนวนที่ยากขึ้นกว่าเดิม -สามารถทีจะคาดคะเนของผลรวมและผลต่างจำนวนมากๆได้

  27. ปริมาณและการวัด 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจถึงแผนภาพบนแนวระนาบพื้นฐานแลสามารถคำนวณรวมถึงใช้ความรู้เหล่านี้คำนวนหาพื้นที่ได้ -รู้วิธีการวัดหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมด้านขนานและสามารถนำไปใช้ได้ -รู้ถึงวิธีการวัดหาพื้นที่ของวงกลมและสามารถนำไปใช้ได้ แผนภูมิ 1.นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องแผนภูมิและสามารถสร้างแผนภูมิได้เช่นทำให้นักเรียนมีความเข้าใจพื้นฐานของระนาบของแผนภูมิพิจารณาส่วนประกอบความสัมพันธ์ของแผนภูมิ -เข้าใจความสัมพันธ์ของเส้นขนานและเส้นตั้งฉาก -รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน -เข้าใจความหมายของอัตราส่วนของวงกลม ความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขและเกี่ยวกับปริมาณ 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจถึงคุณสมบัติการบวกการลบการคูณการหาร -ความเข้าใจของกฎและสูตรต่างๆ 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของร้อยละ(เปอร์เซ็น) 3.ทำให้กลุ่มของนักเรียนจัดเรียงข้อมูลตามจุดประสงค์และสาสมารถแสดงเป็นแผนภูมิวงกลมและแผนภูมิแท่งได้ 4.เกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่แสดงเป็นสูตรการเปลี่ยนแปลงระหว่างสองตัวเลขและปริมาณเพื่อทำให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ [ระบบคำศัพท์/สัญลักษณ์] ; เส้นขนาน ,ตั้งฉาก, เส้นทแยงมุม ,%

  28. ชั้นที่หก (6th) เป้าหมาย(Aim) 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับความเข้าใจของการบวกและการลบเศษส่วนและทำให้นักเรียนนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมเข้าใจของความหมายของการคูณและการหารเศษส่วน 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของปริมาณและการวัดปริมาณของแผนภูมิอย่างง่ายๆและเข้าใจความหมายของความเร็ว 3.ทำให้นักเรียนพิจารณาของแผนภูมิสร้างความสัมพันธ์เกี่ยวกับความเข้าใจพื้นฐานของรูปสามมิติของแผนภาพ 4.ทำให้นักเรียนเข้าใจความหมายของอัตราส่วนและสามารถใช้ความคิดในความสัมพันธ์ของฟังก์ชันได้ เนื้อหา ตัวเลขและการคำนวณ 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกซึ้งคุณสมบัติของจำนวนเต็มมากขึ้น -มีความรู้ในเรื่องการวัดการคูณ 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกซึ้งของคุณสมบัติจำนวนเต็มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเข้าใจความหมายของการบวกการลบของเศษส่วนความแตกต่างของตัวหาร -เกี่ยวกับความเข้าใจการคูณการหารเศษส่วนโดยเศษโดยตัวเลขเช่นเดียวกันให้เลขข้างบนของเลขเศษส่วนและตัวหารหนึ่งตัวหารของเศษส่วน -เข้าใจเกี่ยวกับความเท่ากันของเศษส่วนและหาวิธีเปรียบเทียบอย่างมีเหตุผล มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกการลบเศษส่วนอย่างต่ำที่มีความแตกต่างของตัวส่วนและสามารถที่จะคำนวณได้

  29. 3.ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของการคูณการหารเศษส่วนสามารถที่จะใช้ได้3.ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของการคูณการหารเศษส่วนสามารถที่จะใช้ได้ -เข้าใจในความหมายการคูณการหารในกรณีที่เป็นจำนวนเต็ม -บนพื้นฐานของความคิดในการคูณและการหารเลขทศนิยม -เกี่ยวกับความเข้าใจความหมายของการคูณการหารกรณีที่ตัวคูณและตัวหารคือเศษส่วน -มีเหตุผลในการคำนวณคูณและหารสามารถที่จะคำนวณได้ 4.ให้นักเรียนเข้าใจของจำนวนตรงข้ามของจำนวนและมากกว่านั้น ผลการคาดคะเนและผลหารที่เป็นค่า roud number

  30. ปริมาณและการวัด 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจการประมาณรูปร่างเกี่ยวกับความใกล้เคียงของแผนภูมิและคำนวณหาพื้นที่วงกลม 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของปริมาตรและคำนวณหาปริมาตรบนกรณีง่ายได้ -เข้าใจในความหมายของหน่วยและขนาดที่วัด -เข้าใจในความหมายของหน่วยปริมาตร( Cm) -มีความเข้าใจในกระบวนการวัดของปริมาตรของลูกบาศก์และปริซึมหกด้านที่ขนานของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและการหาปริมาตร 3.จำนวนและปริมาณเป็นสิ่งที่สามารถแบ่งปริมาณในสองปริมาณกับชนิดที่แตกต่างๆเพื่อทำให้เข้าใจในวิธีเปรียบเทียบจำนวนและปริมาณได้ -มีความคิดในการใช้หน่วยของปริมาณ -เข้าใจความหมายของความเร็วและหาความเร็วอย่างง่ายได้ -เข้าใจความหมายของอัตราส่วนและตัวอย่างง่ายเนื้อหาของกราฟ 3.เข้าใจความหมายของค่าเฉลี่ยและสามารถานำไปใช้ได้

  31. แผนภูมิ 1.นักเรียนสามารถที่จะสังเกตของแผนภูมิและสร้างแผนภูมิเข้าใจพื้นฐานของแผนภูมิส่วนประกอบความสัมพันธ์ของแผนภูมิ -เข้าใจเกี่ยวกับลูกบาศก์สี่เหลี่ยมด้านขนาน -เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนาน Parpendicularity บนเส้นตรงความสัมพันธ์ของระนาบสี่เหลี่ยมพื้นผ้าด้านขนาน -มีความรู้ความเข้าใจปริซึมสามเหลี่ยมปริซึมสี่เหลี่ยมและทรงกลม ความสัมพันธ์ของตัวเลขและปริมาณ 1.นักเรียนมีความเข้าใจของอัตราส่วนอย่างง่ายๆได้ 2.เกี่ยวกับสองจำนวนการเปลี่ยนแปลงด้วยกันสามารถที่จะพิจารณาถึงความสัมพันธ์ได้ -เข้าใจความหมายของอัตราส่วนและตัวอย่างง่ายเนื้อหาของกราฟ 3.เข้าใจความหมายของค่าเฉลี่ยและสามารถานำไปใช้ได้ คลิก กลับสู่หน้าหลัก

  32. หลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับมัธยมต้นหลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับมัธยมต้น 1.จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานความคิดเห็นและหลักการเกี่ยวกับแผนภาพและวิธีทำอย่างชำนาญและยิ่งกว่าเพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการคำนวณและสนุกในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ 2. จุดประสงค์และเนื้อหาสาระของแต่ละระดับชั้น ชั้นที่ 1 1 . จุดประสงค์ 1.) มีความรู้ความเข้าใจในจำนวนเต็มบวกและเต็มลบซึ่งยังไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมการแต่สามารถแสดงความสำพันธ์ทั่วไปเกี่ยวกับจำนวนได้ 2.) ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจโดยใช้สัญชาติญาณและมีเหตุผลในการสังเกตคำนวณและทดสอบ 3.) มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวังให้นักเรียนเข้าใจและมีเหตุผลอย่างเหมาะสมมีพื้นฐานที่จะแสดงความสำพันธ์ของตัวเองและปริมาณ

  33. 2. เนื้อหาจำนวนและกฎ 1.)นักเรียนมีความเข้าใจจำนวนที่เป็นบวกและลบผ่านกิจกรรมของนักเรียนในสถานการณ์จริงและมีความสามารถในการบวกลบคูณหาร 2.)มีความสามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์กฎและอ่านความหมายของสูตรและนำไปใช้ได้ ชั้นที่ 2 1.จุดประสงค์ 1.)นักเรียนสามารถที่จะคำนวนและเปลี่ยนรูปสูตรตามจุดประสงค์ที่ต้องการและเพื่อทำความเข้าใจสมการเชิงเส้นอันดับสองและนำไปใช้ได้ 2.)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติเกี่ยวกับแผนภาพและระนาบพื้นฐานที่เปลี่ยนไปและเพื่อทำความเข้าใจวิธีการอนุมานเกี่ยวกับแผนภาพสามารถที่จะแสดงกระบวนการสรุปได้ 3.)นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจฟังก์ชันเชิงเส้นความสัมพันธ์และพิจารณาจากการสังเกตุและแก้ปัญหาและให้นักเรียนมีพื้นฐานในการใช้เหตุผลในการสรุปเนื้อหาสาระ

  34. 2.เนื้อหาสาระ 1.จำนวนและกฎทฤษฎี 1.)นักเรียนสามารถที่จะพัฒนาค้นหาความสัมพันธ์ของปริมาณใช้สูตรแสดงได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหา - สามารถที่จะคำนวณการบากการลบและการคูณในระดับที่ง่ายขึ้น - มีความเข้าใจและใช้เป็นประโยชน์จารความหมายและความสัมพันธ์ของปริมาณ - เปลี่ยนแปลงสูตรตามสถานการณ์ 2.)นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจสมการเชิงเส้นอันดับสองและนำไปใช้ได้ - เข้าใจและแก้ปัญหาจากสมการเชิงเส้นอันดับสอง 2. แผนภาพ 1.) นักเรียนสามารถสังเกตคำนวณแก้ปัญหาเพื่อค้นหาคุณสมบัติของกราฟแนวระนาบพื้นฐานและเพื่อสามารถหาคุณสมบัติของเส้น - มีความเข้าเกี่ยวกับคุณสมบัติของเส้นขนานมุม - มีความเข้าใจสมบัติของมุมของรูปหลายเหลี่ยมเส้นทแยงมุมของสามเหลี่ยม

  35. 2.)นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของแผนภาพสามเหลี่ยม2.)นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของแผนภาพสามเหลี่ยม - มีความเข้าใจและแสดงวิธีพิสูจน์ได้ - มีความเข้าใจความคล้ายของสามเหลี่ยมและอธิบายสมบัติของสามเหลี่ยมได้ - บอกความสัมพันธ์ระหว่างมุมของเส้นรอบวงมุมศูนย์กลางมุมตรงข้ามมุมภายในมุมภายนอกการพิสูจน์และการให้เหตุผลประกอบ 3. ความสัมพันธ์ของตัวเลขและปริมาณ 1) การเปรียบเทียบปริมาณทำความเข้าใจฟังก์ชันเชิงเส้นและหาความสัมพันธ์ได้ 2)ทำเข้าใจความเป็นไปได้จากการแก้ปัญหา ชั้นที่ 3 1.จุดประสงค์ 1) นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องกรณฑ์ของจำนวน 2) นักเรียนมีความเข้าใจในความคล้ายของแผนภาพและเข้าใจในเหลี่ยมมุมในทฤษฎีปีทาโกรัสโดยการสังเกตการคำนวณการแก้ปัญหาและนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3) เข้าใจในเรื่องของฟังก์ชัน y = ax รู้ความสัมพันธ์ต่างๆของฟังก์ชันนี้ได้

  36. 2. เนื้อหาสาระ 1. จำนวนและทฤษฎี 1) ให้นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องกรณฑ์ของจำนวนที่เป็นบวก - เข้าใจความหมายของกรณฑ์ - หาค่ารากที่สองของตัวอย่างที่ง่ายๆได้ 2) เข้าใจเกี่ยวกับสูตรเหล่านี้ ( a - b ) = a –2ab + b ( a + b )( a – b ) = a – b ( x + a )( x + b ) = x + ( a + b )x + ab 3) นักเรียนมีความเข้าใจสมการกำลังสองและนำไปใช้ได้ - มีความรู้ในเรื่องสมการกำลังสองพร้อมหาคำตอบของสมการกำลังสองได้ - สามารถใช้สมการกำลังสองได้ [ระบบคำศัพท์/สัญลักษณ์] รากที่สอง

  37. 2.แผนภูมิ 1) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของแผนภูมิบนพื้นฐานของสามเหลี่ยมคล้ายและพัฒนาความสามารถการพิจารณาความคล้ายอย่างมีเหตุผล - เข้าใจความคล้ายของแผนภูมิคุณสมบัติของแผนภูมิและสามเหลี่ยม - เส้นขนานส่วนของมุมและมีความรู้เกี่ยวกับความคล้าย 2) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีบทปีทาโกรัสและการนำไปใช้ - การพิสูจน์ทฤษฎีปีทาโกรัส - เข้าใจความหมายทฤษฎีของปีทาโกรัส 3.ความสัมพันธ์ของจำนวนและปริมาณ 1) นักเรียนมีความเข้าใจในฟังก์ชัน y = ax และหาความสัมพันธ์ได้ 2)มีความเข้าใจสามารถอธิบายกราฟของฟังก์ชัน y = ax และอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันได้ [ระบบคำศัพท์ / สัญลักษณ์] ; คลิก กลับสู่หน้าหลัก

  38. เกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนมัธยมตอนปลายเกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนมัธยมตอนปลาย ถึงแม้ว่าการศึกษาในมัธยมปลายไม่ใช่ใช้การบังคับการพัฒนาเส้นทางนำร่องเกี่ยวกับหลักสูตรสำหรับโรงเรียนมัธยมตอนปลายส่วนมากโรงเรียนมัธยมตอนปลายของรัฐสม่ำเสมอหรือสถาบันการศึกษาโรงเรียนมัธยมปลายและอาชีพโรงเรียน, เช่นเดียวกันกับธุรกิจและแห่งอุตสาหกรรมโรงเรียนมัธยมปลายความต้องการเกี่ยวกับหลักสูตรสำหรับนักเรียนโรงเรียนมัธยมตอนปลายรวมถึงการทำให้สมบูรณ์ของของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระหว่างสามปีในโรงเรียนมัธยมปลายมีความต้องการสูงกว่าสำหรับวิทยาศาสตร์ให้ใช้วิทยาศาสตร์ทั่วไปเท่านั้นที่สถาบันการศึกษาโรงเรียนมัธยมปลาย

  39. เนื้อหาหัวข้อที่ต้องการในบรรดาภาษาญี่ปุ่นนักเรียนโรงเรียนมัธยมปลายเนื้อหาหัวข้อที่ต้องการในบรรดาภาษาญี่ปุ่นนักเรียนโรงเรียนมัธยมปลาย หัวข้อเครดิตจำนวนมากมายที่ต้องการ ภาษาภาษาญี่ปุ่น 4 ภูมิศาสตร์และอดีตที่ผ่านมา2 หรือ 4 การศึกษาเกี่ยวกับเมืองนคร4 คณิตศาสตร์4 วิทยาศาสตร์4 ~ 8 สุขภาพ2 การศึกษาทางกายภาพ9 ศิลปะ3 หรือ 4 งานบ้าน4

  40. เนื้อหาสาระ ชั้นที่ 10 - 12 - ในชั้นที่ 10 – 12 จะเรียน 6 วิชาด้วยกันคือคณิตศาสตร์ 1 2 3 และคณิตศาสตร์ A , B , C ในคณิตศาสตร์ 1นักเรียนเรียนรู้เรื่องฟังก์ชันสี่เหลี่ยมจัตุรัส,ตรีโกณมิติ ,การเปลี่ยนลำดับและอนุพันธ์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์ 2ครอบคลุมฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนเชียล , ฟังก์ชันตรีโกนมิติ , เรขาคณิตวิเคราะห์ , แคลคูลัส ในคณิตศาสตร์ 3ครอบคลุมแคลคูลัสฟังก์ชันและลิมิตของฟังชันอนุกรม ในคณิตศาสตร์Aเกี่ยวกับพีชคณิต, ความเท่ากันและไม่เท่ากัน, เรขาคณิตระนาบ , การเหนี่ยวนำเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และทฤษฏีบทการเสดงค่าผลบวกหรือผลต่างกระบวนการคำนวณและการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ในวิชานี้ ในคณิตศาสตร์Bนักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์Cเมทตริกซ์ , ระบบสมการเชิงเส้นและพิกัดเชิงขั้ว คลิก กลับสูหน้าหลัก

  41. รูปแบบความแตกต่างของคณิตศาสตร์รูปแบบความแตกต่างของคณิตศาสตร์ การศึกษาคณิตศาสตร์ในอุดมศึกษาและอุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย(K – 12) ในสหรัฐอเมริกาได้มีการปฏิรูปมากมายในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาทำให้เกิดเป็นการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศที่สาม (TIMSS) ในช่วงตุลา 1996 ทำให้เกิดความสนใจจากที่อื่นๆโดยเฉพาะญี่ปุ่นได้มีการปรับปรุงหลักสูตรในระดับ K- 12 หลังจากนั้นไม่นานนักศึกษาระดับอุดมศึกษายังจัดตั้งคณะกรรมการของผู้ให้ความรู้และนักคณิตศาสตร์เพื่อตรวจสอบการศึกษาคณิตศาสตร์ระดับอุดมศึกษาในญี่ปุ่นความสำเร็จของระบบการศึกษานี้ทำในนักเรียนมีความเก่งทางด้านคณิตศาสตร์และเป็นที่รู้จักจากประเทศอื่นๆ ( การศึกษาคณิตศาสตร์ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ( K - 12 ) ) หลักสูตรในการศึกษาระดับประถมของญี่ปุ่น ( ป.1 –ป.6 ) จุดประสงค์ในระดับนี้คือพัฒนาเด็กให้มีความรู้พื้นฐานและความชำนาญเรื่องตัวเลขการคำนวณ , ปริมาณและการวัดและพื้นฐานเกี่ยวกับเรขาคณิต

  42. - ในระดับชั้น 1 – 3 ให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลขและวิธีการ, พื้นฐานความคิดเห็นเรื่องการวัด, วิธีเฝ้าสังเกตรูปร่างของวัตถุที่เป็นรูปธรรมและวิธีสร้างมัน, วิธีจัดเรียงข้อมูลและใช้กราฟบอกขนาดปริมาณความสัมพันธ์ให้เด็กมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกลบคูณเรียนรู้วิธีการคำนวณการคูณและการแบ่งแยกของจำนวนเต็มให้เด็กคุ้นเคยกับทศนิยมและเศษส่วน - ในชั้นที่ 3 เด็กเรียนรู้พื้นฐานการวัดการอ่านนาฬิกาการเปรียบเทียบปริมาณของความยาวพื้นที่ระดับเสียงและขนาดที่เปรียบเทียบในแง่ของตัวเลขและการใช้เครื่องมือแสดงวิธีวัดปริมาณมูลฐาน - ในชั้นที่ 4 ให้เด็กมีความสามารถในการคำนวณพื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนเต็มและการบวกลบของทศนิยมและเศษส่วนได้ - ในชั้นที่ 5 – 6ให้เด็กเรียนรู้วิธีการคูณและหารทศนิยมและเศษส่วนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่และวิธีวัดพื้นที่และขนาดของมุมเกี่ยวกับเรขาคณิตอย่างง่ายมีความสอดคล้องกันและให้เด็กระบบตามเมตริกซ์ครูแสดงวิธีจัดเรียงข้อมูลและใช้กราฟที่จะช่วยให้เด็กแสดงขนาดของปริมาณเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับสถิติ - ในชั้นที่ 7 นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลขที่เป็นบวก, เป็นลบ, ความหมายของสมการ, สัญลักษณ์และการบวกเกี่ยวกับพีชคณิต

  43. ในชั้นที่ 8 นักเรียนสามารถที่จะคำนวณและเปลี่ยนรูปกกระบอกเกี่ยวกับพีชคณิตการใช้สัญลักษณ์และการแก้ความเสมอภาคเชิงเส้น , ความไม่เท่ากันเชิงเส้น , เรขาคณิตระนาบ - ในชั้นที่ 9 นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีแก้สมการสี่เหลี่ยมจัตุรัสคุณสมบัติของสามเหลี่ยมด้านขวางและวงกลม , ฟังก์ชัน , และความน่าจะเป็น - ในชั้นที่ 10 – 12 จะเรียน 6 วิชาด้วยกันคือคณิตศาสตร์ 1 2 3 และคณิตศาสตร์ A , B , C ในคณิตศาสตร์ 1 นักเรียนเรียนรู้เรื่องฟังก์ชันสี่เหลี่ยมจัตุรัส,ตรีโกณมิติ ,การเปลี่ยนลำดับและอนุพันธ์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์ 2 ครอบคลุมฟังก์ชันเอ็กซ์โพรแนนเทียล , ฟังก์ชันตรีโกนมิติ , เรขาคณิตวิเคราะห์ , แคลคูลัส ในคณิตศาสตร์ 3 ครอบคลุมแคลคูลัสฟังก์ชันและลิมิตของฟังชันอนุกรม ในคณิตศาสตร์ A เกี่ยวกับพีชคณิต, ความเท่ากันและไม่เท่ากัน, เรขาคณิตระนาบ , การเหนี่ยวนำเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และทฤษฏีบทการเสดงค่าผลบวกหรือผลต่างกระบวนการคำนวณและการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ในวิชานี้ ในคณิตศาสตร์ B นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์ C เมตริกซ์ , ระบบสมการเชิงเส้นและพิกัดเชิงขั้ว คลิก

  44. อ้างอิง (1) The Tsukuba Association for International Education Studies, (eds.), Education in Japan.Gakken, 1998. (2) IFIC/JICA (eds.), The History of Japan’s educational Development, JICA, 2004. (3) ISODA, M., Japanese Lesson Study Origin and Some Cases, Original PP., 2003 (4) OECD (eds.), Education at a glance : OECD indicators. Gyohsei, 1996 (5) hird International Mathematics and Science Study ( 6 Dec. 1996 ) : Internet. January 2, 1997. See http : //www.ed.gov/ NCES/timss/brochure.html. (6) http://www.michinoku.ne.jp/~sugayuki/homel.html

  45. สมาชิกในกลุ่ม นายธีระพงษ์ มุ่งชู รหัส471108117 เอกคณิตศาสตร์ คบ.ปีที่ 2 MATHEMATICS EDUCATION 2004 นายไกรวุฒิ พันธุ์พรหม รหัส471108137 เอกคณิตศาสตร์ ปีที่2 MATHEMATICS EDUCATION 2004 นายวสันต์ ศรีแสน รหัส 471108138 เอกคณิตศาสตร์ปีที่ 2 MATHEMATICS EDUCATION 2004

More Related