1 / 96

ลักษณะงานควบคุม และขอบเขต ของการทำงานตาม ข้อบังคับ และ กฎกระทรวง

ลักษณะงานควบคุม และขอบเขต ของการทำงานตาม ข้อบังคับ และ กฎกระทรวง. โดย นายเรืองศักดิ์ วัช รพงศ์ ประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรู้ความชำนาญ การประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญวิศวกรและวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่. ขอบเขตของการบรรยาย. Part I. งานวิศวกรรมควบคุม.

edan-weiss
Download Presentation

ลักษณะงานควบคุม และขอบเขต ของการทำงานตาม ข้อบังคับ และ กฎกระทรวง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ลักษณะงานควบคุม และขอบเขต ของการทำงานตามข้อบังคับและกฎกระทรวง โดย นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ • ประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรู้ความชำนาญ • การประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญวิศวกรและวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่

  2. ขอบเขตของการบรรยาย Part I งานวิศวกรรมควบคุม Part II ขอบเขตความสามารถของผู้ได้รับใบอนุญาต

  3. Part I : งานวิศวกรรมควบคุม งานให้คำปรึกษา งานวางโครงการ งานออกแบบและคำนวณ งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้

  4. งานให้คำปรึกษา • การให้คำแนะนำ • การตรวจวินิจฉัย • การตรวจรับรองงาน

  5. งานวางโครงการ • การศึกษา • การวิเคราะห์ทางเลือกที่เหมาะสม • การวางแผนของโครงการ

  6. งานออกแบบและคำนวณ • การใช้หลักวิชาเพื่อให้ได้มาซึ่งรายละเอียดในการก่อสร้าง การสร้าง การผลิต หรือการวางผังโรงงานและเครื่องจักร โดยมีรายการคำนวณ แสดงเป็นรูปแบบ ข้อกำหนด หรือประมาณการ

  7. งานควบคุมการสร้างหรือการผลิตงานควบคุมการสร้างหรือการผลิต การอำนวยการควบคุม หรือการควบคุมเกี่ยวกับการก่อสร้าง การสร้าง การผลิต การติดตั้ง การซ่อม การดัดแปลง การรื้อถอนงาน หรือการเคลื่อนย้ายงาน ให้เป็นไปโดยถูกต้องตามรูปแบบ และข้อกำหนดของหลักวิชาชีพวิศวกรรม

  8. งานพิจารณาตรวจสอบ การค้นคว้า การวิเคราะห์ การทดสอบ การหาข้อมูลและสถิติต่างๆ หรือใช้เป็นหลักเกณฑ์ หรือประกอบการตรวจสอบวินิจฉัยงาน หรือในการสอบทาน

  9. งานอำนวยการใช้ การอำนวยการดูแลการใช้ การบำรุงรักษางาน ทั้งที่เป็นชิ้นงานหรือระบบ ให้เป็นไปโดยถูกต้องตามรูปแบบ และข้อกำหนดของหลักวิชาชีพวิศวกรรม

  10. Part II : ขอบเขตและความสามารถของผู้ได้รับใบอนุญาต ประเภทและขนาดของงานวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ • งานเหมืองแร่ • งานโลหะการ Step 3 • วุฒิวิศวกร Step 2 • สามัญวิศวกร Step 1 • ภาคีวิศวกร

  11. ระดับภาคีวิศวกร งานให้คำปรึกษา งานวางโครงการ งานออกแบบและคำนวณ งานเหมืองแร่ งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ ทำไม่ได้ ทำได้

  12. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานเหมืองแร่ ระดับภาคีวิศวกร ควบคุมการ สร้างหรือ การผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวย การใช้ งานเหมืองแร่ ระดับภาคี ที่ทำได้ • การทำเหมืองแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 600 kW – 1,200 kW • งานวิศวกรรมที่มีการใช้วัตถุระเบิด ที่มีปริมาณวัสดุจากการระเบิด ไม่เกิน 800 เมตริกตันต่อวัน หรือไม่เกิน 280,000 เมตริกตันต่อปี • การแยกวัสดุต่าง ๆ ออกจากของที่ใช้แล้ว โดยใช้กรรมวิธี ทางการแต่งแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกันไม่เกิน 200 kW • การแต่งแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 100 kW - 500 kW

  13. ระดับภาคีวิศวกร งานให้คำปรึกษา งานวางโครงการ งานออกแบบและคำนวณ งานโลหะการ งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ ทำไม่ได้ ทำได้

  14. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานโลหะการ ระดับภาคีวิศวกร ควบคุมการ สร้างหรือ การผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวย การใช้ งานโลหะการ ระดับภาคี ที่ทำได้ • การแต่งแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกันตั้งแต่ 100 kW – 500 kW • การถลุงแร่เหล็กหรือการผลิตเหล็กกล้า ที่มีกำลังการผลิตสูงสุด ไม่เกิน 80 เมตริกตันต่อวัน หรือตั้งแต่ 7,000 เมตริกตันต่อปี – 28,000 เมตริกตันต่อปี

  15. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานโลหะการ ระดับภาคีวิศวกร ควบคุมการ สร้างหรือ การผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวย การใช้ งานโลหะการ ระดับภาคี ที่ทำได้ • การถลุงแร่อื่น ๆ หรือการสกัดโลหะ โลหะเจือ หรือสารประกอบ โลหะออกจากแร่ตะกรัน เศษโลหะ วัสดุ หรือสารอื่นใด รวมทั้งการ ทำโลหะให้บริสุทธิ์ ที่มีกำลังการผลิตสูงสุด ตั้งแต่ 1,000 เมตริกตัน ต่อปี – 5,000 เมตริกตันต่อปี หรืองานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท – 20 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน

  16. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานโลหะการ ระดับภาคีวิศวกร ควบคุมการ สร้างหรือ การผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวย การใช้ งานโลหะการ ระดับภาคี ที่ทำได้ • การหลอม การหล่อ การแปรรูป การปรับปรุงคุณสมบัติด้วย ความร้อน การตกแต่งผิวหรือการชุบเคลือบโลหะ สำหรับงานที่ใช้ คนงานตั้งแต่ 30 คน – 100 คน หรืองานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท – 30 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน

  17. ระดับสามัญวิศวกร งานให้คำปรึกษา งานวางโครงการ งานออกแบบและคำนวณ งานเหมืองแร่ งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ ทำไม่ได้ ทำได้

  18. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานเหมืองแร่ ระดับสามัญวิศวกร ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ • การทำเหมืองแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 600 kW – 15,000 kW • การทำเหมืองใต้ดินที่มีหน้าตัดไม่เกิน 20 ตารางเมตร หรือที่มีกำลังการผลิตไม่เกิน 150,000 เมตริกตันต่อปี งานเหมืองแร่ ระดับสามัญ ที่ทำได้ งานออกแบบ และคำนวณ งานวางโครงการ

  19. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานเหมืองแร่ ระดับสามัญวิศวกร ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ • การเจาะอุโมงค์ในเหมือง หรือปล่อง หรือโพรง ในหิน ที่มีหน้าตัดไม่เกิน 20 ตารางเมตร หรือมีกำลังการผลิต สูงสุดไม่เกิน 150,000 เมตริกตันต่อปี • งานวิศวกรรมที่มีการใช้วัตถุระเบิด ที่มีปริมาณวัสดุ จากการระเบิดไม่เกิน 10,000 เมตริกตันต่อวัน หรือ ไม่เกิน 3,500,000 เมตริกตันต่อปี งานเหมืองแร่ ระดับสามัญ ที่ทำได้ งานออกแบบ และคำนวณ งานวางโครงการ

  20. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานเหมืองแร่ ระดับสามัญวิศวกร ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ • การโม่ บด หรือย่อยแร่และหินที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกันตั้งแต่ 600 kW ขึ้นไป • การแยกวัสดุต่าง ๆ ออกจากของที่ใช้แล้ว โดยใช้กรรมวิธีทางการแต่งแร่ทุกขนาด • การแต่งแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกัน ตั้งแต่ 100 kW ขึ้นไป งานเหมืองแร่ ระดับสามัญ ที่ทำได้ งานออกแบบ และคำนวณ งานวางโครงการ

  21. ระดับสามัญวิศวกร งานให้คำปรึกษา งานวางโครงการ งานออกแบบและคำนวณ งานโลหะการ งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ ทำไม่ได้ ทำได้

  22. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานโลหะการ ระดับสามัญวิศวกร ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ • การแยกวัสดุต่าง ๆ ออกจากของที่ใช้แล้ว โดยใช้กรรมวิธี ทางการแต่งแร่ทุกขนาด • การแต่งแร่ที่ใช้กำลังสูงสุดรวมกันตั้งแต่ 100 kW ขึ้นไป • การถลุงแร่เหล็กหรือการผลิตเหล็กกล้า ที่มีกำลังการผลิต สูงสุดตั้งแต่ 7,000 – 300,000 เมตริกตันต่อปี งานโลหะการ ระดับสามัญ ที่ทำได้ งานออกแบบ และคำนวณ งานวางโครงการ

  23. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานโลหะการ ระดับสามัญวิศวกร ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ • การถลุงแร่อื่น ๆ หรือการสกัดโลหะ โลหะเจือ หรือ สารประกอบโลหะออกจากแร่ตะกรัน เศษโลหะ วัสดุ หรือสารอื่นใด รวมทั้งการทำโลหะให้บริสุทธิ์ ที่มีกำลัง การผลิตสูงสุด ตั้งแต่ 1,000 เมตริกตันต่อปี – 40,000 เมตริกตันต่อปี หรืองานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท –100 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดิน งานโลหะการ ระดับสามัญ ที่ทำได้ งานออกแบบ และคำนวณ งานวางโครงการ

  24. ประเภทและขนาดของงานที่ทำได้ ของงานโลหะการ ระดับสามัญวิศวกร ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ งานอำนวยการใช้ • การหลอม การหล่อ การแปรรูป การปรับปรุงคุณสมบัติ ด้วยความร้อน การตกแต่งผิวหรือการชุบเคลือบโลหะ สำหรับงานที่ใช้คนงานตั้งแต่ 30 คน – 300 คน หรือ งานที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาท – 60 ล้านบาท โดย ไม่รวมค่าที่ดิน งานโลหะการ ระดับสามัญ ที่ทำได้ งานออกแบบ และคำนวณ งานวางโครงการ

  25. ระดับวุฒิวิศวกร งานออกแบบ และคำนวณ ควบคุมการสร้างหรือการผลิต งานเหมืองแร่ งานโลหะการ งานพิจารณาตรวจสอบ งานวางโครงการ งานให้คำปรึกษา งานอำนวยการใช้ ทำได้ทุกประเภท ทุกขนาด

  26. ระดับวุฒิวิศวกร การประมวลผลและการวิเคราะห์มูลค่าของแหล่งแร่ทุกขนาด ถ้าใช้ในเรื่องสิทธิทางด้านกฎหมายแร่ ให้ทำได้เฉพาะวุฒิวิศวกรเหมืองแร่ งานเหมืองแร่ เท่านั้น!

  27. “หลักเกณฑ์ในการพิจารณา ผลงานเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกร” โดย นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ ประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรู้ความชำนาญการประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่

  28. สอบสัมภาษณ์ ขั้นตอนการเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกร ผู้ได้รับใบอนุญาตฯ ประเภทภาคีไม่น้อยกว่า 3 ปี ยื่นคำขอเลื่อนประเภท ตรวจสอบผลงานและปริมาณงาน • ฝึกอบรมเฉพาะด้าน • ทำรายงานทางวิชาการ • สอบข้อเขียน ไม่ผ่าน ผ่าน คณะกรรมการสภาวิศวกร ปฏิเสธ คะแนน >=70%(สอบผ่าน) คณะอนุกรรมการ คะแนน < 70% ไม่ผ่าน ออกใบอนุญาต ผ่าน

  29. หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสัมภาษณ์หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสัมภาษณ์ 100 คะแนน • - ข้อมูลส่วนตัว 10 คะแนน • ความรู้ความชำนาญ ในสาขาอาชีพ 40 คะแนน • - การประกอบวิชาชีพ 50 คะแนน ในวันสอบสัมภาษณ์ ต้องแต่งกายสุภาพ และต้องนำบัตรประชาชน บัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ หรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้ มาเพื่อแสดงตน

  30. หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสัมภาษณ์หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสัมภาษณ์ 70-100 คะแนน เสนอเข้าคณะกรรมการสภาวิศวกร อนุมัติออกใบอนุญาต ต่ำกว่า 70 คะแนน ต้องสอบแก้ตัว

  31. หลักเกณฑ์และวิธีการสอบแก้ตัวหลักเกณฑ์และวิธีการสอบแก้ตัว 60-69 คะแนน เข้าฝึกอบรมเฉพาะด้าน 50-59 คะแนน จัดทำรายงานทางวิชาการ ต่ำกว่า 50 คะแนน สอบข้อเขียนวัดผลความรู้ ทั้งนี้ ผู้ขอรับใบอนุญาต อาจขอเลือกใช้สิทธิ์ต่ำกว่าที่กำหนดได้ โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะอนุกรรมการที่จะอนุญาตตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์ของผู้ขอรับใบอนุญาต

  32. การเข้าฝึกอบรมเฉพาะด้านการเข้าฝึกอบรมเฉพาะด้าน 60-69 คะแนน (1) หลักสูตรเกี่ยวกับความรู้ใน การประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมของผู้ขอรับใบอนุญาต (2) หน่วยงานจัดฝึกอบรมต้อง เป็นองค์กรแม่ข่ายหรือองค์กร ลูกข่ายที่ได้รับการรับรองจาก สภาวิศวกร (3) มีหนังสือรับรองการได้รับ หน่วยความรู้ (PDU) รวมกัน ไม่น้อยกว่า 18 หน่วย (4)ต้องดำเนินการภายใน ระยะเวลา ที่คณะอนุกรรมการ กำหนดไว้ เข้าฝึกอบรมเฉพาะด้าน • ยื่นคำร้องและเอกสารหลักฐานประกอบ • นำเสนอความรู้จากการฝึกอบรม ตอบคำถามของคณะอนุกรรมการ เสนอเข้าคณะกรรมการสภาวิศวกร อนุมัติออกใบอนุญาต

  33. การจัดทำรายงานทางวิชาการการจัดทำรายงานทางวิชาการ 50-59 คะแนน คณะอนุกรรมการจะกำหนดหัวข้อการจัดทำรายงานให้เป็นรายกรณีไป และ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่กำหนด จัดทำรายงานทางวิชาการ - ยื่นคำร้องและจัดส่งรายงานทางวิชาการพร้อมสำเนาตามจำนวนคณะอนุกรรมการ - นำเสนอรายงานพร้อมตอบคำถามของ คณะอนุกรรมการ เสนอเข้าคณะกรรมการสภาวิศวกร อนุมัติออกใบอนุญาต

  34. การสอบข้อเขียนวัดผลความรู้การสอบข้อเขียนวัดผลความรู้ ต่ำกว่า 50 คะแนน สอบข้อเขียนวัดผลความรู้ ต้องมีผลคะแนนแต่ละรายวิชาที่สอบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เสนอเข้าคณะกรรมการสภาวิศวกร อนุมัติออกใบอนุญาต

  35. รายวิชาที่สอบข้อเขียน : สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ Mining Method / Physical Metallurgy Mineral Dressing / Chemical Metallurgy Explosive and Blasting / Mechanical Metallurgy

  36. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก ประกาศสภาวิศวกร ที่ 35/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสัมภาษณ์ และ การสอบแก้ตัว ของผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร

  37. แนะนำวิธีการเขียนผลงานเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกรแนะนำวิธีการเขียนผลงานเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกร โดย นายศักดิ์สิทธิ์ บุญนำ อนุกรรมการทดสอบความรู้ความชำนาญ การประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่

  38. ข้อแนะนำในการกรอกข้อความตามแบบที่กำหนดข้อแนะนำในการกรอกข้อความตามแบบที่กำหนด I คำขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (เลื่อนระดับ) II ประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม III บัญชีแสดงประมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพื่อขอเลื่อนระดับ

  39. I คำขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (เลื่อนระดับ) - ผู้ขอใบอนุญาตฯ ต้องแนบสำเนา ใบอนุญาตฯ ระดับภาคีวิศวกร

  40. II ประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม - กรอกเฉพาะประวัติการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุมทุกแห่งที่ทำงาน ไม่ต้อง กรอกประวัติการทำงาน ในช่วงที่ใบอนุญาตขาดอายุ ไม่ต้อง กรอกประวัติการทำงาน สำหรับงานที่ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทและขนาดที่กระทรวงฯ ควบคุม - ระบุตำแหน่ง หน้าที่ และสถานที่ทำงาน - ระบุลักษณะงานที่ทำ เช่น งานควบคุม การสร้างหรือการผลิต หรือ งานอำนวยการ ใช้ เป็นต้น

  41. III บัญชีแสดงประมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพื่อขอเลื่อนระดับ

  42. (1) ลำดับ • ให้ระบุลำดับผลงานตั้งแต่ได้รับใบอนุญาตฯ มาถึงปัจจุบัน • ห้ามนำเสนอผลงานในช่วงที่ใบอนุญาตฯ ขาดอายุ • ห้ามนำเสนอผลงานที่ประเภทและขนาดอยู่นอกเหนือ กฎกระทรวงฯ

  43. (2) รายละเอียดงาน • ให้ระบุขนาด และรายละเอียดของงานให้ชัดเจนที่สุด • โครงการอะไร อยู่ที่ไหน • ทำกิจการอะไร เหมืองอะไร • ระบุขนาดกำลังการผลิตสูงสุดเท่าใด (กี่ kW) เป็นต้น

  44. (2) รายละเอียดงาน (ต่อ) • ปริมาณวัสดุจากการระเบิดเท่าใด • การแต่งแร่ ใช้กำลังสูงสุดเท่าใด • การถลุงแร่ ใช้กำลังสูงสุดเท่าใด • ระบุมูลค่าโครงการ วงเงินเท่าใด (ถ้าทราบ) • ระบุระยะเวลาเริ่มต้น-แล้วเสร็จของโครงการตามสัญญา

  45. (3) เริ่ม - แล้วเสร็จ • ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มต้นและแล้วเสร็จ ในแต่ละงาน • ผลงานที่ยื่นขอ ต้องเป็นงานที่อยู่ในช่วงที่ใบอนุญาตฯ ภาคีวิศวกร ไม่ขาดอายุ

  46. (4) ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง • ระบุว่าผู้ขอรับใบอนุญาตฯ ปฏิบัติงานลักษณะใด ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2550 เช่น งานควบคุมการสร้างหรือ การผลิต, หรืองานพิจารณาตรวจสอบ, หรืองานอำนวยการใช้ เป็นต้น

  47. (5) ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ • ผู้ขอรับใบอนุญาตฯ ต้องระบุว่าปฏิบัติงานในหน้าที่ • ด้วยตนเอง • หรือเป็นผู้อำนวยการควบคุม,เป็นผู้อำนวยการใช้

  48. (5) ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (ต่อ) • หรือเป็นผู้รับผิดชอบตามสายบังคับบัญชาของงานนั้นๆ ตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ที่สามารถกระทำได้ตามคุณสมบัติ ของภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่

  49. (5) ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (ต่อ) • กรณีที่ประเภทและขนาดของงานเกินจากขอบเขตอำนาจ ที่สามารถกระทำได้ • ต้องระบุว่า ได้ปฏิบัติงานภายใต้การอำนวยการและความรับผิดชอบ ของสามัญวิศวกร หรือ วุฒิวิศวกร

  50. (6) ผลของงาน • ให้ระบุว่า งานนั้นมีข้อบกพร่องหรือผลดีอย่างไร • หรือมีข้อขัดข้อง หรือปัญหาระหว่างปฏิบัติงานอย่างไร และได้แก้ไขอย่างไร • หรืองานสำเร็จเรียบร้อย

More Related