1 / 17

ระบบการเกษตร (Agricultural System)

ระบบการเกษตร (Agricultural System). By : Lect. Dr. Nathitakarn Pinthukas Division of Agricultural Extension. ความสำคัญ. ⭗ ประเทศ ไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลิตพืชอาหารเพื่อบริโภคทั้งภายในและภายนอก ประเทศ ⭗ มีการใช้ทรัพยากร ดิน น้ำ พลังงาน และพื้นที่ป่าไม้มาให้เพื่อทำการเกษตร

eda
Download Presentation

ระบบการเกษตร (Agricultural System)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการเกษตร(Agricultural System) By :Lect. Dr. NathitakarnPinthukas Division of Agricultural Extension

  2. ความสำคัญ ⭗ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลิตพืชอาหารเพื่อบริโภคทั้งภายในและภายนอกประเทศ ⭗ มีการใช้ทรัพยากร ดิน น้ำ พลังงาน และพื้นที่ป่าไม้มาให้เพื่อทำการเกษตร ⭗ พื้นที่การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ลดลง เนื่องจากการเจริญเติบโตของชุมชนเมือง และโรงงานอุตสาหกรรม ⭗ การเกษตรไทยถูกผลักดันเข้าสู่เกษตรกรรมเคมี (Chemical Agriculture)

  3. ความสำคัญ (ต่อ) ⭗ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ⭗ ปัญหาต่อเศรษฐกิจ ⭗ ปัญหาต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค ⭗ ระบบการเกษตรไทยในปัจจุบันจึงต้องการแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ และสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค

  4. พัฒนาการของระบบการเกษตรพัฒนาการของระบบการเกษตร

  5. การปลูกพืชแบบย้ายที่(Shifting Cultivation) • การหักร้างถางป่า เมื่อเศษพืชแห้งก็เผา เพื่อให้ได้พื้นที่หยอดเมล็ดพืชปลูก ระบบนี้เรียกอีกอย่างหนึ่ง คือ ระบบตัดและเผา (Slash and Burn Agriculture)

  6. การปลูกพืชแบบย้ายที่(Shifting Cultivation) ⭗ เป็นการจับจองพื้นที่ป่า ตัด ฟัน โค่น และเผาเพื่อเพาะปลูกพืชลงในพื้นที่เป็นเวลา 1 ปีขึ้นไป ⭗เพาะปลูกซ้ำจนกว่าดินในแปลงนั้นจะเสื่อมความอุดมสมบูรณ์ หรือมีปัญหาเกี่ยวกับวัชพืช โรคพืช หรือแมลงศัตรูพืช ซึ่งเป็นสาเหตุให้ผลผลิตทางการเกษตรลดต่ำลง ไม่คุ้มกับการลงทุน ⭗เกษตรกรจะย้ายที่เพาะปลูก ไปหาพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การปลูกพืชแหล่งใหม่ เรียกว่า เป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่เพาะปลูก ตามระยะเวลาที่...ความอุดมสมบูรณ์ของดิน...เป็นตัวกำหนด

  7. ไร่เหล่า หรือ ไร่หมุนเวียน(Fallow period or Land rotation farming) ⭗ เป็นการปลูกพืชแบบย้ายที่อีกแบบหนึ่ง แต่มีความแตกต่าง คือ เมื่อปลูกพืชจนดินเสื่อมความอุดมสมบูรณ์ จะย้ายไปปลูกพืชในพื้นที่ใหม่ ⭗ และจะมีการหมุนเวียนพื้นที่ 7-10 ปี จึงกลับมาตัด ถาง เผา และปลูกพืชในพื้นที่เดิมนั้นอีก

  8. ระบบการเกษตรเพื่อยังชีพ(Subsistence Farming) ⭗ชุมชนตั้งเป็นหลักแหล่ง มีการพัฒนาเทคโนโลยีระดับหนึ่ง ⭗และชุมชนยังได้รับประโยชน์จากธรรมชาติในด้านอาหาร มีการใช้มูลสัตว์บำรุงดิน ⭗มีชลประทานขนาดเล็ก ลงทุนน้อย มีความหลากหลาย ทั้งปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์ ⭗ใช้พันธุ์พืชที่คัดเลือกตามธรรมชาติ ไม่ต้องการปัจจัยการผลิตมาก ⭗มีการผสมผสานระบบการผลิต เป็นไปตามความต้องการอาหารในครัวเรือน

  9. เกษตรประณีต (Intensification) ⭗ คือ การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ⭗ การทำเกษตรในพื้นที่ประมาณ 1 ไร่ ที่สามารถปลูกพืชในครัวเรือนไว้กินไว้ใช้อย่างครบถ้วน ⭗โดยไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ในกระบวนการปลูก ⭗ยังสามารถเลี้ยงปลา ไก่ หมู หรือวัว ⭗หากเกษตรกรมีพื้นที่มากกว่า 1 ไร่ก็สามารถทำได้ ⭗เกิดความมั่นคงด้านอาหารภายในครอบครัว จัดเป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน 

  10. ระบบการเกษตรแบบเข้มข้น (Intensive Farming) ⭗ระบบนี้ เกิดจากกระแสการพัฒนาสังคมที่มุ่งเน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ⭗เน้นการผลิตเพื่อการค้า (Cash Farming) ⭗เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีมาก เช่น เครื่องจักร ปุ๋ยเคมี สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช ⭗ใช้พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ที่ได้รับการพัฒนาจากการผสมพันธุ์และคัดเลือก ⭗เป็นการผลิตที่ต้องการปัจจัยการผลิตสูง

  11. ระบบการเกษตรแบบเข้มข้น (Intensive Farming) ⭗ปี 1945 (พ.ศ. 2488) การเกษตรแบบเข้มข้น เริ่มในประเทศตะวันตก จากการพัฒนาอุตสาหกรรมในอังกฤษ แพร่สู่ประเทศต่าง ๆ ในยุโรป และอเมริกา ⭗ปี พ.ศ. 2488 สมัยรัชกาลที่ 8 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก่อตั้ง องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ⭗ปี 1960 (พ.ศ. 2503) “การปฏิวัติเขียว” (Green Revolution) ⭗ ปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทย เริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1

  12. ระบบการเกษตรแบบเข้มข้น (Intensive Farming) ⭗ปี 1945 (พ.ศ. 2488) การเกษตรแบบเข้มข้น เริ่มในประเทศตะวันตก จากการพัฒนาอุตสาหกรรมในอังกฤษ แพร่สู่ประเทศต่าง ๆ ในยุโรป และอเมริกา ⭗ปี พ.ศ. 2488 สมัยรัชกาลที่ 8 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก่อตั้ง องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ⭗ปี 1960 (พ.ศ. 2503) “การปฏิวัติเขียว” (Green Revolution) ⭗ ปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทย เริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1

  13. สังคมเกษตรจักรกล พัฒนาคน:มีคุณภาพ มีการศึกษา มีจิตวิญญาณของเกษตรกร ห่วงใยสิ่งแวดล้อม พัฒนาพันธุ์: ให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานโรคแมลง รสชาติถูกปากผู้บริโภค พัฒนาเครื่องจักร: รองรับแรงงานภาคเกษตรที่หายไป เครื่องพรวนหญ้า (Weeder) ในร่องนาดำ เพื่อลดการใช้ยาปราบวัชพืช

  14. สังคมเกษตรยุคใหม่:เกษตร 4.0 นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้กล่าวถึงแผนระยะยาวไว้ 10 ข้อ ดังนี้ 1. ส่งเสริมเกษตรกรให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย 2. เพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศ 3. คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมรวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย 4. แก้ไขปัญหาหนี้สินของเกษตรกร 5. พัฒนาปรับปรุงกฎระเบียบที่มีอยู่ให้ทันสมัย 6. เน้นทำปศุสัตว์แปลงใหญ่ ให้ความสำคัญกับอาหารสุขภาพ 7. เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร 8. ปรับการผลิตให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 9. เน้นทำวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น 10. บูรณาการการทำงานร่วมกันในทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ครอบคลุมทุกมิติ

  15. สรุปลักษณะรวมของการเกษตรแบบดั้งเดิมสรุปลักษณะรวมของการเกษตรแบบดั้งเดิม ตอบสนองการอุปโภคบริโภคของครอบครัว และชุมชนเป็นหลัก ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น มีความหลากหลาย ผสมผสาน ทั้งพืชและสัตว์ พึ่งพาธรรมชาติ

  16. สรุปลักษณะรวมของการเกษตรแบบเข้มข้นสรุปลักษณะรวมของการเกษตรแบบเข้มข้น ปลูกพืชแบบเชิงเดี่ยว หรือเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า ใช้พันธุ์พืช หรือสัตว์ ที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ ใช้เทคโนโลยี และเครื่องจักรสมัยใหม่ เน้นการลงทุนเป็นจำนวนมาก มีบริษัทธุรกิจการเกษตรมาเกี่ยวข้อง รัฐบาลมีบทบาทในการชี้นำ ราคาผลผลิตขึ้นอยู่กับตลาดโลก

  17. Agricultural System

More Related