1 / 25

ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง ประวัติศาสตร์

ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง ประวัติศาสตร์. ประวัติศาสตร์. จุดมุ่งหมาย ของ การวิเคราะห์. ขั้นตอน ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ . วิธีการทางประวัติศาสตร์. วิธีการ ทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางประวิทยาศาสตร์ ศาสตร์. คุณสมบัติ ผู้ที่จะ ศึกษา ประวัติศาสตร์.

ebony
Download Presentation

ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง ประวัติศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียนขอต้อนรับเข้าสู่บทเรียน เรื่อง ประวัติศาสตร์

  2. ประวัติศาสตร์ จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางประวิทยาศาสตร์ศาสตร์ คุณสมบัติผู้ที่จะศึกษา ประวัติศาสตร์ คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์ การจำแนกประเภทของการศึกษาประวัติศาสตร์ ประวัติผู้สอน ความสําคัญของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ประวัติที่ปรึกษา ข้อจํากัดของเรื่องราวเหตุการณ์ ประวัติผู้จัดทำ หลักฐานจำแนกตามความสำคัญ ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์

  3. จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควร คำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป

  4. จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น (ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง (ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป ย้อนกลับ

  5. จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูล ในหลักฐานเหล่านั้นว่ามีความน่าเชื่อถือหรือไม่ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้นและในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป ย้อนกลับ

  6. จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป ย้อนกลับ

  7. จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์ หน้าหลัก หน้าเมนู ย้อนกลับ

  8. วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป

  9. วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์ • วิธิการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่ • 1.การรวบรวมหลักฐาน • 2.การคัดเลือกหลักฐาน • 3.การวิเคราะห์ ตีความ ประเมินหลักฐาน • 4.การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน • 5.การนำเสนอข้อเท็จจริง หน้าหลัก หน้าเมนู ย้อนกลับ

  10. คุณสมบัติผู้ที่จะศึกษาประวัติศาสตร์คุณสมบัติผู้ที่จะศึกษาประวัติศาสตร์ • -มีความเป็นกลาง (Objectiveness or Objectivity) • -มีความคิดที่เป็นประวัติศาสตร์ (Historical thinking) • -มีความถูกต้องแม่นยำ (Accurary) • -มีความเป็นระเบียบในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล (Love of order) • -มีลำดับการทำงานที่เป็นตรรกะ (Logic) • -มีความซื่อสัตย์ในการแสวงหาข้อเท็จจริง (Honesty) • -มีความระมัดระวังในการใช้หลักฐาน (Self-awareness) • -มีจินตนาการ (Historical imagination) หน้าหลัก หน้าเมนู

  11. ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสำนึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสั่งสมไว้, ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับปัจจุบัน องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์จะทำให้เข้าใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา, การศึกษาประวัติศาสตร์ก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินนโยบายให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต, วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสมประสบการณ์และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอื่น ๆ คุณสมบัตินี้นับเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรในสังคมที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการสูง หน้าหลัก หน้าเมนู

  12. การจำแนกประเภทของการศึกษาประวัติศาสตร์ 1.การศึกษาประวัติศาสตร์เฉพาะพื้นที่ คือการใช้พื้นที่ทางภูมิศาสตร์กำหนดขอบเขตของการศึกษา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในกรอบพื้นที่ จำแนกออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ประวัติศาสตร์โลก (World History) คือการศึกษาเรื่องราวและพัฒนาการของสังคมโลกในลักษณะที่เป็นองค์รวม ไม่เน้นเขตพื้นที่ใดโดยเฉพาะ เช่น การศึกษาอารยธรรมโลก การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ประวัติศาสตร์ชาติ (National History) คือการศึกษาเรื่องราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ ของแต่ละประเทศ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (Local History) คือการศึกษาประวัติศาสตร์ในเขตพื้นที่เฉพาะ เช่น ประวัติศาสตร์ชุมชน ประวัติศาสตร์เมือง/ หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป

  13. การจำแนกประเภทของการศึกษาประวัติศาสตร์การจำแนกประเภทของการศึกษาประวัติศาสตร์ 2.การศึกษาประวัติศาสตร์เฉพาะหัวข้อ คือการศึกษาประวัติศาสตร์เฉพาะด้านในดินแดนต่าง ๆ เดิมแบ่งการศึกษาออกเป็นหัวข้อใหญ่ ดังนี้ ประวัติศาสตร์การเมือง,ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ,ประวัติศาสตร์สังคม,ประวัติศาสตร์วัฒนธรม,ประวัติศาสตร์พรรคการเมือ,งประวัติศาสตร์การทหาร,ประวัติศาสตร์กาทูตประวัติศาสตร์พัฒนาการของกลุ่มชาติพันธุ์,ประวัติศาสตร์สตรี,ประวัติศาสตร์สงคราม,ประวัติศาสตร์ลัทธิทุนนิยม,ประวัติศาสตร์ศิลป,ะประวัติศาสตร์การละคร,ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ฯลฯ หน้าหลัก หน้าเมนู ย้อนกลับ

  14. ความสําคัญของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือการวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง หน้าหลัก หน้าเมนู

  15. ข้อจํากัดของเรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีแสวงหาข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งเหตุการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมาแล้วในอดีต โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้การรวบรวมข้อมูล การสืบเสาะหาข้อเท็จจริง การตรวจสอบข้อเท็จจริง การวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการสรุปผลเป็นไปอย่างถูกต้อง สมเหตุสมผล และสามารถนำผลที่ได้มาใช้ในการอธิบายสภาพความเป็นจริงในอดีต หรือบันทึกเหตุการณ์ในอดีตในรูปใหม่ที่มีระบบและมีความเป็นปรนัยยิ่งขึ้น หน้าหลัก หน้าเมนู

  16. หลักฐานจำแนกตามความสำคัญหลักฐานจำแนกตามความสำคัญ 1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ 1.1 หลักฐานชั้นต้น 1.2 หลักฐานชั้นรอง 2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด 2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต 3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น 3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง หน้าหลัก หน้าเมนู

  17. ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประด้วย ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประด้วย 1. การกำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรีกว่า การพิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลแล้วตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นำเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลำเอียง หน้าหลัก หน้าเมนู

  18. วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางประวิทยาศาสตร์ศาสตร์ 1. วิธีการทางประวัติศาสตร์มีการกำหนดประเด็นปัญหาเพื่อสืบค้นหาคำตอบ เช่นเดียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการสร้างสมมติฐานขึ้นแล้วทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐานนั้น 2. วิธีการทางวิทยาศาตร์ใช้วิธีการสร้างสถานการณ์ใหม่หรือ ทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้น แต่นักประวัติศาสตร์ไม่สามารถสร้างสถานการณ์ขึ้นใหม่เหมือนกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในอดีตได้ เพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตจะเกิดขึ้นคร้งเดียว มีลักษณะเฉพาะ หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป

  19. วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางประวิทยาศาสตร์ศาสตร์ 3. การนำเสนอผลงานของนักวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ก็อาศัยหลักการความเป็นไปได้มาคาดคะเน และสรุปผลเช่นกัน แต่ผลสรุปทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถนำไปทดลองซ้ำ ๆ ก็จะได้ผลเช้นนั้นทุกครั้ง แต่ผลสรุปทางประวัติศาสตร์ไม่สามารถนำไปลดทองได้ และมีความแตกต่างที่เป็น มิติของเวลา เช่นเดียวกับศาสตร์ทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่สามรารถควบคุมปัจจัยท่เป็นตัวแปลได้ทั้งหมด หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป ย้อนกลับ

  20. วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางประวิทยาศาสตร์ศาสตร์ 4. ประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ไม่สามารถนิยามคำเฉพาะเพราะความหมายจะไม่ชัดเจนตายตัวในทุกกาลและเทศะ เช่น ประชาธิปไตยของท้องถิ่นหนึ่ง กับอีกท้องถิ่นหนึ่งจะมีนัยแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผู้ใช้หรือผู้นิยาม ซึ่งแตกต่างกับวิทยาศาสตร์ที่สามารถให้นิยามคำเฉพาะที่มีความหมายตายตัวไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา และสถานที่ หน้าหลัก หน้าเมนู ย้อนกลับ

  21. คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1. วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการวิจัยเอกสารและหลักฐานอื่น ๆ ที่เป็นร่องรอยจากอดีตอย่างกว้างขวาง เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้บนพื้นที่ของการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาอย่างเป็นระบบ และมีเหตุผล 2. ขั้นตอนการพิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์หรือการตรวจสอบความจริงจากข้อมูลและหลักฐาน ซึ่งเป็นขั้นตอนของการค้นหาความหมายที่ซุกซ้อนอยู่ในหลักฐานจะทำให้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ระมัดระวัง และคิดพิจารณาข้อเท็จ และข้อจริงที่แฝงอยู่ หน้าหลัก หน้าเมนู ถัดไป

  22. คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์คุณค่าของวิธีการทางประวัติศาสตร์ 3. วิธีการทางประวัติศาสตร์เน้นการเข้าใจอดีต คือ การให้ผู้ศึกษาเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ต้องทำความเข้าใจยุคสมัยที่ตนศึกษา เพื่อให้เข้าถึงความคิดของผู้คนในยุคนั้น โดยไม่นำความคิดของปัจจุบันไปตัดสินอดีต ประวัติศาสตร์คือการสืบค้นอดีตของสังคมมนุษย์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ซึ่ง เป็นวิธีการในการสืบสวนและค้นคว้า จึงนับเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบหนึ่งที่มีเหตุผลประกอบผลสรุปนั่นเอง หน้าหลัก หน้าเมนู ย้อนกลับ

  23. ประวัติผู้สอน ชื่ออาจารย์ ปกรณ์กฤษ นามสกุล หวังกุ่มตำแหน่ง ครู คศ.2 วิยฐานะ  ชำนาญกาญสังกัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศ (คอมพิวเตอร์) โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก จังหวัดกาญจนบุรีการศึกษา พ.ศ. 2542ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี พ.ศ. 2545 ป. บัณฑิต วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี พ.ศ. 2548 ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา พ.ศ. 2553 ปริญญาโท ศึกษาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีการติดต่อ korn.2514@hotmail.com www.pkkan.net หน้าหลัก หน้าเมนู

  24. ประวัติที่ปรึกษา ชื่อ นางสาว ประกาย เอิบแจ้ง เกิดวันที่ 24 ตุลาคม 2526 ประวัติการศึกษา - ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ จ.สงขลา คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาเอกสังคมศึกษา - ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประวัติการทำงาน ข้าราชการครู คศ.1 โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก หน้าหลัก หน้าเมนู

  25. ประวัติผู้จัดทำ • ชื่อนางสาว สิราวรรณนามสกุลเชื้อทอง • ชื่อเล่นแนน • เกิดวันที่ 19มีนาคม 2539 • ที่อยู่บ้านเลขที่ 72/1หมู่ 18ตำบล ห้วยกระเจาอำเภอห้วยกระเจา • จังหวัดกาญจนบุรี • E mail:      sirawan-1234@hotmail.com • สีที่ชอบสีฟ้า,สีดำ • งานอดิเรกดูโทรทัศน์ • ประวัติการศึกษา • จบในระดับประถมศึกษาปีที่  6    ที่โรงเรียนบ้านทัพพระยา • จบในระดับมัธยมศึกษาปีที่  3    ที่โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก • ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6   ที่โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก หน้าหลัก หน้าเมนู

More Related