1 / 17

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ. สาขาสุขภาพช่องปาก. จังหวัดสงขลา. กิจกรรมหลักที่สำคัญในการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพสาขาช่องปาก. 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 2. ลดระยะเวลาการรอคอย 3. ระบบบริการมีคุณภาพ 4. ลดอัตราการเกิดโรค. 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก.

Download Presentation

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดสงขลา

  2. กิจกรรมหลักที่สำคัญในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาช่องปากกิจกรรมหลักที่สำคัญในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาช่องปาก 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 2.ลดระยะเวลาการรอคอย 3.ระบบบริการมีคุณภาพ 4.ลดอัตราการเกิดโรค

  3. 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก จำนวนรพ.สต.และศสม.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้นในแต่ละเขตบริการ ตัวชี้วัด ร้อยละ 45 ของรพ.สต. และ ศสม. มีการจัดบริการโดยทันตบุคลากรประจำ หรือ จัดบริการสุขภาพช่องปากหมุนเวียนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1วัน ประชาชนในทุกระดับมีการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 200/1,000ประชากรในปี 2560

  4. 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก การจัดบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ (ศสมและรพ.สต.) กิจกรรม : * การขยายการจัดบริการไปสู่รพ.สต.และ ศสม. ในรูปแบบโซนเครือข่าย * การกระจายทันตภิบาล/ครุภัณฑ์ทันตกรรม สู่รพ.สต.และศสม.

  5. ศักยภาพการบริการระดับปฐมภูมิศักยภาพการบริการระดับปฐมภูมิ

  6. 45.0

  7. 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก พัฒนาการจัดบริการสุขภาพช่องปากใน ศสม.ให้มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน(ลดความแออัดในเขตเมือง) มีทันตแพทย์และทันตาภิบาลรับผิดชอบใน ศสม.หรือปฏิบัติงานเต็มเวลา * อย่างน้อยร้อยละ 50 ในปี 2557 ทุกแห่ง ในปี 2560 ความครอบคลุมการบริการ 200/1,000 ประชากร ปัจจุบันสงขลา มี ศสม.6แห่ง มีทันตบุคลากรประจำ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ67

  8. 2.การลดระยะเวลาการรอคอย2.การลดระยะเวลาการรอคอย พัฒนาระบบการจัดบริการใส่ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุ ระยะเวลาการรอคอยคิวในการใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุ • ผู้สูงอายุ ไม่เกิน 6 เดือน • การมีส่วนร่วมของเอกชน (public-private)

  9. ระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียม (เดือน)

  10. 2.การลดระยะเวลาการรอคอย2.การลดระยะเวลาการรอคอย พัฒนาหน่วยบริการให้สามารถจัดบริการ ทันตกรรมได้ตามมาตรฐาน -สัดส่วนจำนวนทันตแพทย์ทั่วไปต่อประชากร 1:10,000

  11. แผนความต้องการทันตแพทย์แผนความต้องการทันตแพทย์

  12. 3.ระบบบริการมีคุณภาพ พัฒนางานคุณภาพด้านทันตกรรมสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานคุณภาพ Dental safety goal(ทันตแพทยสภา)

  13. 3.ระบบบริการมีคุณภาพ การดำเนินงานที่ผ่านมา • มีการจัดอบรม ในด้านวิชาการ ทันตบุคลากรทุกระดับทุกหน่วยบริการในจังหวัดสงขลา โดยสสจ.และทีมรพ.หาดใหญ่ • เตรียมจัดตั้งทีมตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในแต่ละรพ. มีแผนความก้าวหน้าดังนี้ 2557 : จะนะ ปาดังเบซาร์ 2558: สะเดา นาทวี นาหม่อม ระโนด สะทิ้งพระ ควนเนียง รัตภูมิ สิงหนคร เทพา 2559 : กระแสสินธุ์ สะบ้าย้อย บางกล่ำ คลองหอยโข่ง

  14. 4.ลดอัตราการเกิดโรค ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุโดยเน้นในกลุ่ม 3 ขวบ เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57 หรือมีฟันผุลดลงร้อยละ 1 ต่อปี มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 50 ในปี 2560 ตัวชี้วัด

  15. 4.ลดอัตราการเกิดโรค อัตราการเกิดฟันผุในกลุ่มอายุ 3 ปีและ 12 ปี ลดลงร้อยละ1ต่อปี อัตราการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็ก 3 ปี

  16. แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด – 3 ปี (ต่อ) ตัวชี้วัดกิจกรรม 1. เด็กอายุ 9-12 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 2 2. เด็กอายุ 18-24 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 20 3. เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการตรวจฟันและผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ร้อยละ 70 (85 focal area) 4. เด็กต่ำกว่า 3 ปี แปรงฟันก่อนนอน ร้อยละ 70 (85 focal area) 4. เด็กต่ำกว่า 3 ปีได้รับฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 50 (70 focal area) เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 57 ( ร้อยละ 50 ปี 60) หรือมีฟันผุลดลงร้อยละ 1 ต่อปี (ภาพรวมเขต 12 ปี 55 ร้อยละ 69.75)

More Related