1 / 47

บทบาท หน้าที่และการดำเนินงาน ของกระทรวงศึกษาธิการ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

บทบาท หน้าที่และการดำเนินงาน ของกระทรวงศึกษาธิการ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอต้อนรับคณะนักศึกษา หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่50 และ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่20 วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม 2550 เวลา 10.45-12.15 น. ประเด็นการนำเสนอ.

dyanne
Download Presentation

บทบาท หน้าที่และการดำเนินงาน ของกระทรวงศึกษาธิการ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาท หน้าที่และการดำเนินงาน ของกระทรวงศึกษาธิการ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอต้อนรับคณะนักศึกษา หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่50 และ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่20 วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม 2550 เวลา 10.45-12.15 น.

  2. ประเด็นการนำเสนอ 1. วิสัยทัศน์ของกระทรวงศึกษาธิการ 2. โครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ และงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ 2551 3. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน 4. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและแนวทางการแก้ไข 5. แผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญและผลที่คาดว่าจะได้รับ 6. ร่วมถกแถลง

  3. วิสัยทัศน์ กระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลัก ที่มุ่งจัดและส่งเสริมการศึกษาให้ประชาชนมีคุณธรรมนำความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างสังคมคุณธรรม พัฒนาสังคมฐานความรู้ และยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย

  4. โครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการโครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำนวน 301,437.3748 ล้านบาท โครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ งบประมาณจำนวน (ล้านบาท) สัดส่วน (100) กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย 5 ส่วนราชการหลัก และ 6 หน่วยงานในกำกับฯ 1. สำนักงานปลัดกระทรวง 23,189.7786 07.69 2. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 238.7230 00.08 3. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 189,337.9350 62.81 4. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 71,695.0487 23.78 (หน่วยบริหารกลาง 1 หน่วย และสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/ในกำกับของรัฐ 78 แห่ง) 5. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 14,784.0147 04.91 6. หน่วยงานในกำกับฯ/องค์การมหาชน 2,191.8748 00.73 (หน่วยงานในกำกับฯ 6 หน่วยงาน ได้แก่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1,201.3478 ล้านบาท โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 234.7579 ล้านบาท, สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา 190.0744 ล้านบาท, สำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา 138.7888 ล้านบาท, สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและ การพัฒนา 43.1694 ล้านบาท และสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 383.7365 ล้านบาท)

  5. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการ ได้เร่งดำเนินการขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ถึงเด็ก ถึงครู ถึงสถานศึกษา และถึงประชาชน ใน 6 ประเด็นนโยบาย คือ

  6. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน 1. เร่งรัดปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนำความรู้ 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรมนำความรู้ เช่น - จัดกิจกรรมค่ายคุณธรรม ผ่านกระบวนการลูกเสือ ยุวกาชาด 1 แสนคน - ค่ายคุณธรรมนำชีวิตพอเพียงภาคฤดูร้อน จำนวนมากกว่า 1.25 ล้านคน - ทุกโรงเรียนและ สถาบันทุกระดับ จัดกิจกรรมคุณธรรมนำความรู้ - พัฒนาหลักสูตรสื่อคู่มือ พัฒนาคณาจารย์ ให้จัดการเรียนรู้คุณธรรม 1.2 ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เช่น - บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงในหลักสูตรทุกระดับการศึกษา -พัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้สู่ชุมชน 1.3 ผลการตรวจราชการ นโยบายคุณธรรมได้รับการตอบรับสูงสุด

  7. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน 2. ขยายโอกาสทางการศึกษา 2.1 จัดบริการการศึกษาให้แก่ผู้เรียนในระบบโรงเรียนได้ 13,729,723 คน คิดเป็นร้อยละ 93.91 ของทั้งประเทศ (ทั้งประเทศจัดได้ 14,620,659 คน) จัดบริการการศึกษานอกโรงเรียนได้ 2,187,599 คน (กศน. 1,839,316 คน และสอศ. 348,283 คน) และจัดการศึกษาตามอัธยาศัยได้ 4,769,267 คน 2.2 เพิ่มเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบและนอกระบบและปรับเพิ่มงบประมาณให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก 2.3 จัดเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน 2.4 สนับสนุนเด็กพิการ ผู้มีความสามารถพิเศษ และเด็กปฐมวัย 2.5 เร่งผลิตบัณฑิตสาขาขาดแคลน ผลิตแพทย์พยาบาลเพิ่ม และให้บริการวิชาการ

  8. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3.1 ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ 3.2 พัฒนาการสอนภาษาไทย แก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออก และให้เด็กไทยรักการอ่าน 3.3 ยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ไม่ได้มาตรฐาน พัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษาอุดมศึกษา 3.4 พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปัญหาการขาดแคลนครู จัดเงินค่าวิทยฐานะและแก้ไขปัญหาหนี้สินครู 3.5 แก้ปัญหาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 3.6 สนับสนุนการวิจัยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนทุกระดับการศึกษา 3.7 ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์โอลิมปิคระหว่างประเทศ ปี 2550 นักเรียนไทย ได้อันดับ 1 ของโลก 1 คน รวมได้เหรียญทอง 4 คน เหรียญเงิน 7 คน เหรียญทองแดง 2 คน

  9. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน 4. กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 4.1 ออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและ จัดการศึกษา พ.ศ. 2550 4.2 พัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ โดยอบรมแกนนำในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 15,158 คน 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และท้องถิ่น 5.1 ปรับระบบการอุดหนุนการศึกษาเอกชนและพัฒนาโรงเรียนเอกชน 5.2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชน ประชาชน ท้องถิ่นในการจัดการศึกษา

  10. ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 6.1 จัดทำแผนยุทธศาสตร์และโครงสร้างระบบบริหารจัดการ 6.2 พัฒนาคุณภาพการศึกษา กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ทุกระดับการศึกษาทุกประเภท และสร้างความสมานฉันท์ 6.3 วางมาตรการรักษาความปลอดภัยและสร้างขวัญกำลังใจครูบุคลากรในการปฏิบัติงาน 6.4 ให้เยาวชนได้เรียนรู้ภาษาไทยเพื่อแก้ปัญหาเรื่องภาษาในการสื่อสารการเรียนการสอน

  11. ผลการตรวจติดตามและประเมินนโยบาย6ข้อของรมว.ศธ.ในรอบ6เดือนตั้งแต่ตุลาคม 2549-มีนาคม 2550 • (1)นโยบายคุณธรรมนำความรู้ได้รับการขานรับมากที่สุด โรงเรียนส่วนใหญ่พอใจและให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมคุณธรรมนำความรู้และเศรษฐกิจพอเพียง • (2)นโยบายขยายโอกาส ยังต้องเข้าให้ถึงกลุ่มเด็กด้อยโอกาส เด็กเร่ร่อน และเด็กชาวเขา ต้องเร่งกศน.เก็บตกเด็ก”ชายขอบ”มากขึ้น 1

  12. ผลการตรวจติดตามผลนโยบายของรมว.ศธ. ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน6 เดือนตุลา49-มีค50 (3)นโยบายการพัฒนาคุณภาพ ครูส่วนใหญ่ พอใจกับการปรับเทคนิคการสอนและสนใจ เข้ารับการฝึกอบรมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (4)นโยบายการฝึกอบรมเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่ และสถานศึกษา(รวมโรงเรียนเอกชน) ฝึกแกนนำได้ 12,000 คน มีเสียงเรียกร้องให้ขยายรุ่น 2 ต่อไปอีกและขออำนาจการบริหารจัดการเพิ่มขึ้น 1

  13. ผลการตรวจติดตามผลนโยบายของรมว.ศธ. ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน6 เดือนตุลา49-มีค50 • (5)นโยบายการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในส่วนของการศึกษาเอกชนขอให้ สพท.จัดโควตาร้อยละ 5 ให้โรงเรียนเอกชนได้มีโอกาสพัฒนาคู่ขนานไปกับโรงเรียนของรัฐ • (6)นโยบายการศึกษาภาคใต้เสียงเรียกร้อง 2ประเด็นหลักได้แก่ให้เพิ่มมาตรการรักษา ความปลอดภัยและยกระดับคุณภาพการศึกษา 1

  14. ผลตรวจติดตามสำนักงานปลัด.ศธ.6 เดือนตุลา49-มีค50 1. การจัดสรรทุนเด็กยากจนและทุนพัฒนาท้องถิ่น (มีความต้องการสูง) 2.กคศ 1)การบริหารงานของเขตพื้นที่(ยังไม่ลงตัวตามพ.ร.บ.) 2)การประสานงานบริหารบุคคลของครูมัธยมและบุคลากร (ยังเรียกร้อง) 3.กศน.1)การเข้าเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน12 ปีไม่ครบถ้วน (ยังไม่สามารถเก็บตก) 2)ยังไม่สามารถสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตามอัธยาศัย 4.การศึกษาเอกชน.1)สัดส่วนการจัดการศึกษาเอกชนลดลงมาก 2)ระบบใหม่การอุดหนุนการศึกษาเอกชนต้องการความชัดเจนและทัดเทียม 3)การพัฒนาโรงเรียนเอกชนใน3จังหวัดภาคใต้ 1

  15. ผลตรวจติดตามส่วนของสพฐ. 6 เดือนตุลา49-มีค50 1.การบริหารงานของเขตพื้นที่ (การแต่งตั้งผอ.สพท., การกระจายอำนาจการบริหาร) • 2.การกระจายอำนาจการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฯ • 3.การแก้ปัญหาขาดแคลนครู • 4.ปัญหาโครงสร้างและงานบริหารบุคคลของครูมัธยมและข้าราชการก.พ. • 5.การแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก 1

  16. ผลการตรวจติดตามองค์กรหลัก 6 เดือนตุลา49-มีค50 • สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(สอศ.) • สัดส่วนการรับนักเรียนอาชีวะลดลง ยังนิยมสายสามัญ • แต่สาขาอาชีวะที่กำลังผลิตอยู่ไม่ตรงตลาดต้องการ • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) 1.ความไม่พอใจการออกนอกระบบของมหาวิทยาลัย 2. กองทุน กยศ.และกรอ.จะให้บริการอย่างไร 3. ผลิตบัณฑิตสายสังคม 80% สายวิทยาศาสตร์ 20% ไม่ตรงตามตลาดต้องการ 4.กระบวนการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยO-Net/A-Net? 1

  17. แผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญ และผลที่คาดว่าจะได้รับ  เร่งขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาต่อเนื่อง 6 ประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล 1. เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนำความรู้ ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีชีวิตประชาธิปไตย ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานของประชาชนให้กว้างขวางและทั่วถึง มีคุณภาพ 3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก 4. กระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และท้องถิ่น 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเน้นความปลอดภัยและคุณภาพ

  18. แผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญ และผลที่คาดว่าจะได้รับ การดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ถือเป็นนโยบายสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษา โดยร่วมกับทุกฝ่ายพัฒนาความรู้ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และให้สถานศึกษานำไปพัฒนาผู้เรียนให้ครบทุกแห่งทั่วประเทศ  เป้าหมายในปี 2550 กระทรวงศึกษาธิการร่วมกับทุกฝ่าย สร้างความรู้ ความเข้าใจ และนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในสถานศึกษากว่า 3,000 แห่ง เป็นแบบอย่าง  เป้าหมายหลังปี 2550 ● ระยะที่ 1 ปี 2551 ถึง 2552 พัฒนาเครือข่ายสถานศึกษาที่นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไประยุกต์ ใช้ในการพัฒนาผู้เรียน จนขยายผลเป็นสถานศึกษาแบบอย่างในทุกจังหวัดกว่า 10,000 แห่ง ● ระยะที่ 2 ปี 2553-ถึง 2554 ขยายจำนวนสถานศึกษาที่นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปพัฒนาผู้เรียน ครบทุกแห่งทั่วประเทศ

  19. แผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญ และผลที่คาดว่าจะได้รับ  สภาพปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการดำเนินการในปีงบประมาณ 2551 1. การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ใช้ ICT มาแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก 2. การขาดแคลนครูผู้สอน ยังเป็นปัญหามากและมีความจำเป็นเร่งด่วน 3. ความปลอดภัยในภาคใต้ ต้องอาศัยการประสานจากฝ่ายความมั่นคง จึงจะทำให้การเร่งรัดพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ประสบความสำเร็จ 4. ค่าก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนสิ่งก่อสร้างประกอบ ค่าครุภัณฑ์การศึกษาการเรียนการสอน ยังขาดแคลน และมีความจำเป็น

  20. การจัดสรรงบประมาณปี 2551 สอดคล้องกับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการฯปี2550 1. การจัดการศึกษาให้แก่ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส 2. การดำเนินการปฏิรูปการศึกษาที่เป็นรูปธรรมชัดเจนในปัจจุบัน 3. การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันที่ด้อยจริยธรรมยึดถือวัฒนธรรมบริโภคนิยมมากขึ้น 4. การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีมาตรฐานและคุณภาพ 5. การจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัด/ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาประจำจังหวัด

  21. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. การขับเคลื่อนคุณธรรมนำความรู้ถึงเด็ก ถึงครู ถึงสถานศึกษา ถึงประชาชน เด็กเป็นคนดี มีความรู้ อยู่ดีมีสุข 2. เด็กที่จบการศึกษาไปแล้วมีงานทำ มีการศึกษาต่อ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3. การศึกษาได้รับการยกระดับคุณภาพสูงขึ้น และประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้น 4. ประเทศมีศักยภาพในการแข่งขันเพิ่มขึ้น

  22. วิสัยทัศน์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นองค์กรที่มีศักยภาพในการจัดประสานการปฏิบัติราชการที่มีธรรมาภิบาล เติมเต็มปัญญาแก่สังคมให้ได้มาตรฐานและคุณภาพ 1

  23. พันธกิจสป.ศธ. 1. มุ่งมั่น สร้างสรรค์ พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร 2. เร่งรัด พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพ 3. เร่งรัด ส่งเสริม สนับสนุนและกระตุ้นให้ทุกส่วนมีส่วนร่วมหรือจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย 4. เร่งรัด พัฒนาข้าราชการครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้ได้มาตรฐาน 1

  24. โครงสร้างสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการโครงสร้างสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักอำนวยการ สำนักนิติการ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สถาบันพัฒนาครูและบุคลากร กศ. สำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักงาน ก.ค.ศ. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักฯ การศึกษาเอกชน สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สำนักฯ การศึกษานอกโรงเรียน สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 1

  25. สรุปปัญหา อุปสรรคการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข การปรับโครงสร้างองค์กรของกระทรวงศึกษาธิการใน ปัจจุบันส่งผลกระทบต่อการส่งเสริม สนับสนุนโรงเรียน เอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา และการปรับปรุง ดูแล รักษาค่ายลูกเสือ 1. ค่าใช้จ่ายรายหัวในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กศน. รวมงบบุคลากรไว้ด้วย จึงทำให้เหลืองบประมาณในการ จัดการศึกษาไม่มาก 2. การพัฒนาการศึกษาภาคใต้ในเรื่องความปลอดภัยและคุณภาพ การศึกษา ต้องอาศัยฝ่ายความมั่นคงมาร่วมด้วย 3. 1

  26. แผนการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญและผลที่คาดว่าจะได้รับ • นโยบายสำคัญของรัฐบาล • ดำเนินการจัดทุนการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น • พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ • อุดหนุนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและ สถาบันศึกษาปอเนาะ • ดำเนินการโครงการคุณธรรมนำความรู้ • ประเมินวิทยฐานะครู-อาจารย์ • จัดมหกรรมนักอ่าน 1

  27. แผนการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญและผลที่คาดว่าจะได้รับ • การดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • จัดองค์ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่โรงเรียนเอกชน และ ศูนย์การเรียนชุมชน • เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพในการดำรงชีวิต อย่างพอเพียงให้นักเรียน-นักศึกษา • จัดวิจัยเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 1

  28. แผนการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญและผลที่คาดว่าจะได้รับ • สภาพปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 • งบประมาณในการดำเนินงานมีจำกัด ยากต่อการขับเคลื่อน ในเชิงนโยบาย • รอ พ.ร.บ.เอกชน และ พ.ร.บ. กศน. เพื่อขับเคลื่อนได้ อย่างเต็มที่ 1

  29. โรงเรียนขนาดเล็ก : โจทย์ข้อใหญ่ของสพฐ. กรณีตัวอย่างปัญหาที่ต้องการข้อเสนอแนะแก้ไข ** ขนาดโรงเรียน จำนวนโรงเรียน 0 คน 248 แห่ง 1-21 คน 316 21-40 คน 1,296 41-60 คน 2,338 61-80 คน 2,980 81-100 คน 2,985 101-120 คน 2,665 รวม 12,828 แห่ง 1 **ข้อมูลปี2549 ที่สพฐ. รายงานต่อผู้บริหารองค์กรหลัก 16กค2550

  30. การอาชีวศึกษา ปัจจุบัน อาชีวศึกษาภาครัฐ อาชีวศึกษาภาคเอกชน พลเรือน 662 คน ครู 16,990 คน ครูจ้างสอน 9,348 คน ลูกจ้างประจำ 4,071 คน ลูกจ้างชั่วคราว 8,092 คน รวม 39,163 คน พลเรือน 662 คน ครู 17,802 คน รวม 18,464 คน บุคลากร นักศึกษา หลักสูตรในระบบ 568,581 คน นอกระบบ 650,040 คน หลักสูตรในระบบ 380,767 คน นอกระบบ 925,155 คน สอศ. (404 แห่ง) วิทยาลัยเทคนิค 107 แห่ง วิทยาลัยอาชีวศึกษา 40 แห่ง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี 47 แห่ง วิทยาลัยสารพัดช่าง 54 แห่ง วิทยาลัยการอาชีพ 144 แห่ง วิทยาลัยเฉพาะทาง 12 แห่ง อาชีวะเอกชน (401/4361 แห่ง) กทม. 93 แห่ง ภูมิภาค (อำเภอเมือง) 285 แห่ง (ต่างอำเภอ) 23แห่ง สถานศึกษานอกระบบ กทม. 1764 แห่ง ภูมิภาค 2597 แห่ง สถานศึกษา หลักสูตร 9 ประเภทวิชา : อุตสาหกรรม พณิชยกรรม เกษตรกรรม คหกรรม ศิลปกรรม ประมง อุตสาหกรรมท่องเที่ยว อุตสาหกรรมสิ่งทอ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ 11,000 แห่ง 1

  31. สถานการณ์ด้านปริมาณ ผู้เข้าศึกษาในสายอาชีพมีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง ผู้เข้าศึกษาในสายอาชีพมีจำนวนลดลงคน ส่วนใหญ่ ให้ความสนใจเข้าศึกษาในสายสามัญมากกว่าเนื่องจาก ทัศนคติและค่านิยมในการเรียนอุดมศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. มีความพร้อมที่จะทำงาน ในระดับต่ำที่สุด ส่วนใหญ่เลือกที่จะเรียนต่อระดับสูงขึ้น เกิดการตึงตัวของกำลังแรงงาน ระดับ ปวช. แนวโน้มของผู้สำเร็จ ปวส. นิยมเรียนต่อปริญญาตรี กระทบต่อสายการผลิตมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ จนถึงขั้น ขาดแคลน 1

  32. 7 สถานการณ์ด้านคุณภาพ ผลิตบุคลากรไม่ตรงกับความคาดหวังและความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมและบริการกลุ่มเป้าหมาย ปัญหากำลังคนเชิงคุณภาพในระดับพื้นฐาน ขาดเจตคติที่ดีในการเข้าทำงานภาคอุตสาหกรรม นักศึกษาขาดความรู้และทักษะ ทักษะพื้นฐาน(Core Competency) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การคิด สื่อสาร ภาษาต่างประเทศ ICT การวิจัย ทักษะธุรกิจ และการเป็น ผู้ประกอบการ การทำงานเป็นทีม ทักษะเฉพาะ (Technical Competency) ด้านทักษะและความรู้เฉพาะทางโดยเฉพาะด้านช่าง กำลังคนที่ผลิตได้เป็นผู้ใช้เทคโนโลยีมากกว่าเป็นผู้ผลิตเทคโนโลยี ขาดการกำหนดมาตรฐานอาชีพและวิชาชีพที่จะนำไปกำหนดเป็น มาตรฐานที่เทียบได้กับระดับสากล ที่จะยกระดับขีดความสามารถของ แรงงานอย่างแท้จริง และใช้ในการยกระดับค่าตอบแทนของแรงงาน ระดับกลาง และระดับสูง และเป็นแรงจูงใจให้มีการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง 1

  33. 8 สถานการณ์ด้านคุณภาพ (ต่อ) หลักสูตรขาดความสมดุลระหว่างภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ ความไม่ สมดุลของความรู้พื้นฐานในแนวกว้างกับความรู้ลึกในวิชาชีพเฉพาะทาง ขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน เครื่องมืออุปกรณ์ ห้องปฏิบัติการล้าสมัย ขาดแคลน ไม่สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไป และมีการใช้เครื่องมือและครุภัณฑ์ไม่คุ้มค่าใน สถานศึกษาบางแห่ง ขาดแคลนบุคลากรโดยเฉพาะบุคลากรผู้สอนที่มีความชำนาญเฉพาะทาง บุคลากรผู้สอนในอาชีวศึกษาเอกชนไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร เนื่องจากข้อจำกัดด้านจำนวนบุคลากร และภาระค่าใช้จ่ายที่ผู้ประกอบ การต้องรับผิดชอบ 1

  34. สถานการณ์ด้านการบริหารจัดการสถานการณ์ด้านการบริหารจัดการ • ขาดการวางแผน ส่งต่อและเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกับทุกระดับ ภาคส่วนอยู่ในวงจำกัด  เครือข่ายความร่วมมือและการเชื่อมโยงการทำงานทุก ภาคส่วนอยู่ในวงจำกัด โดยเฉพาะสถานประกอบการ ระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมยังไม่เข้มแข็ง  ไม่สามารถคาดคะเนแนวโน้มด้านปริมาณนักศึกษาได้ชัดเจน 1

  35. เป้าหมายและกลยุทธ์การอาชีวศึกษาเป้าหมายและกลยุทธ์การอาชีวศึกษา 3. บริการสังคม 3.1 พัฒนาอาชีพแบบบูรณาการเพื่อแก้ปัญหา ความยากจน Fix It Center ถนนอาชีพ 3.2 เพิ่มวุฒิเกษตรกร 3.3 ต่อยอด OTOP 3.4 อาชีวะสีเขียว(สิ่งแวดล้อม/พลังงาน) 3.5 อาชีวะรวมพลัง(อาชีวะร่วมด้วยช่วย ประชาชนซ่อมสร้างโรงเรียนบ้าน/ ช่วยเหลือภัยพิบัติ) 1. ปริมาณ 1.1 ยืดหยุ่น...เรียนได้ทุกสาขา ทุกที่ ทุกเวลา 1.2 มีรายได้ระหว่างเรียน มีงานทำ 1.3 เทียบโอนประสบการณ์ผู้ทำงานในสถาน ประกอบการ 1.4 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างทัศนคติ เส้นทางอาชีพ 1.5 ปรับและเพิ่มหลักสูตรใหม่ให้สอดคล้องกับ โครงสร้างเศรษฐกิจ 1.6 ประสานความร่วมมือกับ สพฐ. กศน. สกอ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1.มีความรู้ความสามารถ ทักษะวิชาชีพเฉพาะทาง 2. มีทักษะพื้นฐาน : สื่อสาร ภาษา ICTวิจัยแบบง่าย (คิดเป็น ทำเป็น) การจัดการธุรกิจ (Business Plan) 3. มีคุณธรรม จริยธรรม และบุคลิกภาพ 2. คุณภาพ 2.1 สร้างภาพลักษณ์แห่งคุณภาพการ อาชีวศึกษา 2.2 ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ (เรียนรู้ และประเมินในสถานการณ์จริง) 2.3 พัฒนามาตรฐานอาชีพ ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานการอาชีวศึกษา และหลักสูตรฐาน สมรรถนะร่วมกับสถานประกอบการ 2.4 สร้างระบบเครือข่ายและการมีส่วนร่วมในการจัด อาชีวศึกษากับสถานประกอบการ ชุมชน ท้องถิ่น และเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ 2.5 การจัดระบบการจัดการความรู้วิชาชีพ (Knowledge Management) 2.6 ประกันคุณภาพผลผลิต ผลิตภัณฑ์ และงานบริการ อาชีวะ 2.7 ขยายการจัดการเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี กับสถานประกอบการและชุมชน 4. สร้างผู้ประกอบการใหม่ 4.1 สร้างเครือข่ายและพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ 4.2 สร้างช่องทางการเข้าถึงแหล่งทุนและ องค์ความรู้ทางธุรกิจ 4.3 หนึ่งวิทยาลัย หนึ่งธุรกิจ (One College One Company) 1

  36. เป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษาเป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษา 13 กลุ่มอุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษา เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) 1

  37. ความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน Strategic Partners & Stakeholders เครือข่ายในประเทศ ภาคการผลิต & ธุรกิจและบริการ : โรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการ องค์กรที่เกี่ยวข้อง : สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า สมาคมผู้ประกอบการ สมาคมวิชาชีพ สำนักบริหาร และจัดการความรู้ ภาคราชการ : สกว. กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เครือข่ายต่างประเทศ : UNESCO-UNEVOC , SEAMEO VOCTECH, etc. มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา สถาบันอุดมศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาอาชีวศึกษาสังกัดรัฐและเอกชน ร่วมพัฒนาบุคลากร ร่วมวิจัยพัฒนา ร่วมพัฒนาองค์ความรู้ เพิ่มคุณวุฒิแรงงาน • พัฒนาทักษะแกนวิชาชีพ • นักเรียน นักศึกษา • ระดับประถม มัธยม • ปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อ • การประกอบอาชีพ • แนะนำเส้นทางอาชีพ ผลิตกำลังคนและพัฒนาอาชีพ Top Up Technology เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถ วิจัยพัฒนาและจัดการความรู้ ศูนย์บริการวิชาชีพชุมชน สร้างผู้ประกอบการ การศึกษานอกระบบ (กศน.) การศึกษาตามตามอัธยาศัย (วชช.) ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น แรงงาน และสถานประกอบการ 1

  38. กระบวนการแห่งการปฏิรูปการอาชีวศึกษากระบวนการแห่งการปฏิรูปการอาชีวศึกษา เป้าหมาย ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้มีปริมาณและคุณภาพสอดคล้องกับตลาดแรงงาน ตามกลุ่ม อุตสาหกรรมเป้าหมาย และสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน พัฒนา ภาพลักษณ์ แห่งคุณภาพ อาชีวศึกษา (VTECH Quality Brand Name) • พัฒนามาตรฐาน • อาชีพ • ระบบคุณวุฒิ • วิชาชีพ • มาตรฐาน • การอาชีวศึกษา • พัฒนาหลักสูตร • ฐานสมรรถนะ • (Competency • Base) และ • หลักสูตรวิชาชีพ • เฉพาะทาง • (Specialized • Professional • Certificate) • พัฒนา • สื่อ นวัตกรรม • เทคโนโลยี • ห้องปฏิบัติการ • โรงงานในสถาน • ศึกษา • สถานศึกษาใน • โรงงาน • Software House พัฒนาระบบ บริหารจัดการ แบบมีส่วนร่วม (Participatory Management) กับ Strategic Partners และ Stakeholders • จัดหาและพัฒนา • ศักยภาพบุคลากร • ร่วมกับสถาน • ประกอบการ • ใน/ต่างประเทศ/ • สกอ. • จ้างผู้เชี่ยวชาญ/ • ผู้ชำนาญงานใน • และต่างประเทศ กระบวนการผลิต • ภาพลักษณ์ • แห่งคุณภาพ • การอาชีวศึกษา • มีความชัดเจน • สถานประกอบ • การและสังคม • ให้การยอมรับ • การเพิ่มปริมาณ • และคุณภาพ • ของตัวป้อนเข้า • สู่ระบบ • อาชีวศึกษา บุคลากรเพียงพอ และมีศักยภาพ สอดคล้องกับการ ผลิตกำลังคน ผลผลิต สถานศึกษามีศักยภาพและความพร้อมด้าน หลักสูตร สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ห้องปฏิบัติการ โรงงานในสถานศึกษา สถานศึกษาในโรงงาน เพื่อผลิตกำลังคนที่มีสมรรถนะในผลิต และบริการสอดคล้องและตรงกับความต้องการตามกลุ่ม อุตสาหกรรมเป้าหมาย • ความร่วมมือ • ระหว่างผู้ผลิต • และผู้ใช้ในการ • ดำเนินงานด้าน • การทำ • Co-operate • Plan • การจัดการเรียน • การสอน • การวิจัยพัฒนา • และการจัดการ • ความรู้ กำลังคน กึ่งฝีมือ ฝีมือ ช่างเทคนิค และนักเทคโนโลยี ที่มีปริมาณและคุณภาพในการผลิตและบริการ สอดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 1

  39. มาตรการเร่งด่วน • ปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์อาชีวศึกษา • จัดทำ Action Plan ร่วมกับกลุ่มอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • แก้ปัญหาความขาดแคลนบุคลากรด้านปริมาณ • และคุณภาพ • 4. พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการจัดการอาชีวศึกษาทั้งระบบ • 5. ขยายการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น 1

  40. โครงสร้างสกอและมหาวิทยาลัยโครงสร้างสกอและมหาวิทยาลัย 1

  41. ปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษาปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษา 1.ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร ผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเท่าตัว ประชากรวัยเด็ก และวัยแรงงานจะลดลง ส่งผลให้ผลผลิตน้อยลง อาหารไม่พอกิน สถาบันอุดมศึกษาต้องช่วยพัฒนาวัยแรงงานให้ศักยภาพสูงขึ้น และเมื่อจำนวนเด็กน้อยลง จะมีที่ว่างในมหาวิทยาลัยมากขึ้น ขณะที่มหาวิทยาลัยขยายตัวขึ้นอย่างไร้แผน จะมีห้องเรียนว่างเพิ่มขึ้น 2.พลังงาน ซึ่งแต่ละปีนำเข้าสูง ทำให้เกิดมลพิษ 3.คนไหลสู่งาน เมื่อก่อตั้งประชาคมอาเซียน ก็จะเกิดการไหลเวียนของประชากรอาเซียน 600 ล้านคน ทั้งเรื่องสังคม งาน ฯลฯ 1

  42. ปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษาปัจจัยสังคมที่ส่งผลกระทบสูงต่อการอุดมศึกษา • 4.การกระจายอำนาจยังไม่เห็นจุดเชื่อมโยงที่ชัดเจนของมหาวิทยาลัย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉะนั้น มหาวิทยาลัยจะเกื้อหนุนการกระจายอำนาจอย่างไร หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นไหนจะมาสนับสนุนการอุดมศึกษาเพื่อการวิเคราะห์วิจัยอย่างไร • 5.ความขัดแย้งและการแก้ปัญหา อุดมศึกษาควรมีส่วนร่วม โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 6.เยาวชน ถูกกระทบโดยตรงจากเทคโนโลยี และสื่อ และ • 7.เศรษฐกิจพอเพียง ค่อนข้างใหม่สำหรับอุดมศึกษา บทบาทของอุดมศึกษาในเรื่องนี้เป็นอย่างไร 1

  43. ผลการจัดการศึกษาที่ส่งผลกระทบต่อการอุดมศึกษาผลการจัดการศึกษาที่ส่งผลกระทบต่อการอุดมศึกษา • 1.การแก้ปัญหาคุณภาพนักเรียนก่อนเข้ามหาวิทยาลัย โดยเฉพาะวิชาหลัก วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนปี2549ต่ำมาก • 2. การเรียนสายอาชีวศึกษาที่ลดลงเรื่อยๆ เพราะมุ่งใบปริญญา สังคมขาดผู้มีทักษะด้านอาชีวะ ทั้งที่ความต้องการสูง ขณะเดียวกันอาชีวะก็หันไปสอนปริญญาเพิ่มขึ้น มหาวิทยาลัยอาจต้องเปิดกว้างให้นักศึกษาอาชีวะเข้าเรียนได้ • 3. อาจารย์จะทำอย่างไรให้มีคุณภาพ สิ่งที่ต้องปฏิรูปเป็นอันดับแรกในระบบการศึกษาคือ อาจารย์ ซึ่งหลายคนสร้างเด็กให้คิดนอกกรอบไม่ได้ จึงไม่เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ 1

  44. ปัญหาที่เกิดจากผลการจัดการศึกษาที่กระทบอุดมศึกษาปัญหาที่เกิดจากผลการจัดการศึกษาที่กระทบอุดมศึกษา • 4. การแบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยเพื่อให้แต่ละสถาบันเข้าใจพันธกิจ และแนวทางการจัดสรรทรัพยากรชัดเจนขึ้น ไม่ใช่ใช้วิธีเฉลี่ย ทำให้ได้คุณภาพแบบเฉลี่ย ทั้งนี้ อนาคตของความร่วมมือ จะต้องเน้นผลิตบัณฑิตที่มีโอกาสคืนถิ่น แทนที่จะไหลเข้าเมืองหมด และ • 5. ต้องเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต" • 6. สถาบันอุดมศึกษายังขาดความเชื่อมโยงกับเครือข่ายท้องถิ่น โดยต้องให้ความสำคัญกับการบริการสังคม ขณะนี้สถาบันอุดมศึกษามุ่งการประกอบธุรกิจมากกว่าให้บริการองค์ความรู้กับประชาชน 1

  45. ข้อเสนอทั่วไปในการจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว(ข้อมูล25 สิงหาคม2550) • 1.ความเป็นกลางทางวิชาการ สถาบันอุดมศึกษาต้องรู้ตนเองถนัดด้านไหน อย่างที่คลุมเครือ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยถูกดึงไปเป็นที่ปรึกษาในโครงการต่างๆ คือไปรับใช้ในเรื่องที่ไม่ควร ทำให้ไม่มีความเป็นกลางทางวิชาการ ทำให้คุณค่าของระบบอุดมศึกษาต่ำลง • 2.สร้างรายได้ให้ประเทศ โดยสร้างความเป็นมืออาชีพ เพื่อดึงต่างประเทศเข้ามาเรียน ผลิตบัณฑิต และองค์ความรู้ • 3.มีบทบาทกระตุ้นให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม เพราะขณะนี้นักการเมืองหลายคนที่เรียนในมหาวิทยาลัยไทย แต่ไม่ได้ทำงานเพื่อสังคม อุดมศึกษาจึงต้องสร้างความรับผิดชอบมากขึ้น โดยผลิตบัณฑิตให้มีสภาวะผู้นำ และ • 4.เชื่อมโยงการจัดการเรียนการสอน จัดองค์ความรู้ใหม่ให้ท้องถิ่น" 1

  46. สกอ.ต้องปรับตัวและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่สกอ.ต้องปรับตัวและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ • 1.ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม และติดตามผลเป็นระยะๆ ของแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว • 2.มองการลงทุนของอุดมศึกษาเป็นคุณค่า ความคุ้มค่า มากกว่ามูลค่า • 3.จัดพื้นที่สำหรับเรียนโดยไม่ต้องมีห้องเรียน • 4.แก้กฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว • 5.พัฒนาฐานข้อมูลเป็นเครือข่าย และ • 6.มีดัชนีชี้วัดในการติดตามแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว ชัดเจน 1

  47. กระทรวงศึกษาธิการ ขอสนับสนุนและขอรับการสนับสนุน คณะนักศึกษาวปอ.ทุกท่าน

More Related