1 / 26

แมลงสังคม ( Social Insects)

แมลงสังคม ( Social Insects). แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน มีความคาบเกี่ยวกันของอายุสมาชิก เช่น : - ปลวก (Isoptera) - มด ต่อ แตน แมลงภู่ ตัวชันโรง ผึ้ง. ลำดับสังคมของแมลง. 1. แมลงที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว (solitary insect)

dwight
Download Presentation

แมลงสังคม ( Social Insects)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แมลงสังคม (Social Insects) • แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน • มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน • มีความคาบเกี่ยวกันของอายุสมาชิก • เช่น :- ปลวก(Isoptera) • - มด ต่อ แตน แมลงภู่ ตัวชันโรง ผึ้ง

  2. ลำดับสังคมของแมลง • 1. แมลงที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว(solitary insect) • หากินอิสระไม่ได้อยู่ร่วมกันเลย • อยู่ร่วมกันเฉพาะระยะผสมพันธุ์เท่านั้น • ตั๊กแตน แมลงปอ เพลี้ย มวน แมลงปีกแข็ง ฯลฯ

  3. 2. แมลงที่อยู่ร่วมกันชั่วคราว (Subsocial insect) • อยู่ร่วมกันเฉพาะป้องกันศัตรู และดูแลลูกอ่อน (maternal care) • ไม่มีการจัดแบ่งหน้าที่การทำงาน • แมลงหางหนีบ จิ้งหรีด ตั๊กแตนตำข้าว ฯลฯ

  4. 3. แมลงที่อยู่ร่วมรัง Communal insects • มีสมาชิกอายุเดียวกัน อาศัยร่วมกัน • มีทางออกจากรังร่วมกัน • ไม่มีการช่วยกันเลี้ยงลูกอ่อน • ตัวเมียเลี้ยงลูกของตัวเอง และวางไข่ • ผึ้งกัดใบ (Megachilidae) ,Halictidae

  5. 4. แมลงสังคมพื้นฐาน (Quasisocial) • สมาชิกรุ่นเดียวกัน ไม่เกิน 10 ตัว • ช่วยกันสร้างรัง • ช่วยกันเลี้ยงดูตัวอ่อน • ตัวเมียทุกตัววางไข่ได้ • สะสมอาหารให้ลูกอ่อน • ผึ้งกัดใบ ,ผึ้งวงศ์ Halictidae

  6. แมลงสังคมชั้นกลาง (Semisocial insects) • -เพศเมียหลายตัวอยู่ร่วมกัน • - มีวรรณะสืบพันธุ์ : “นางพญา” • - ตัวเมียเป็นหมัน : เลี้ยงดูตัวอ่อน • ต่อ, แตนบางชนิด,ผึ้งรู

  7. 6. แมลงสังคมแท้ (Eusocial insects) • เพศเมียทำหน้าที่เลี้ยงดูตัวอ่อน • กำหนดวรรณะสืบพันธุ์ในสมาชิกเพศเมียบางตัว • มีแมลงต่างรุ่นอยู่ร่วมกัน • ปลวก, ผึ้ง (Apidae)

  8. ผึ้ง (Bee) 1. ผึ้งนางพญา (queen) - วางไข่ - ผลิต queen pheromone -ควบคุมการทำงานของรัง - ป้องกันไม่ให้ ผึ้งงานสร้าง queen cell

  9. 2. ผึ้งตัวผู้ (Drone) • - มีหน้าที่ผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญา • - ได้รับการเลี้ยงดูจากผึ้งงาน • - ลิ้นสั้นดูดอาหารจากดอกไม้ไม่ได้

  10. 3. ผึ้งงาน (Worker) • - ผึ้งตัวเมียรังไข่ไม่เจริญ • - มีเหล็กไน,wax gland, pollenbasket • - มีกระเพาะเก็บน้ำผึ้ง,ต่อมผลิต alarm pheromone • 3.1 ผึ้งประจำบ้าน (house bee) • 3.2 ผึ้งสนาม (field bee) • หาอาหาร ออกสำรวจ

  11. พฤติกรรมของผึ้ง 1. การผสมพันธุ์ - นางพญาบินไปผสมกับผึ้งตัวผู้ - บิน 1 ครั้ง ผสมกับตัวผู้ 10-15 ตัว - บินกลับรังและไม่ผสมอีกตลอดชีวิต

  12. 2. การวางไข่ - วางไข่ 1 ฟอง / cell, 2000 ฟอง / วัน - cell ใหญ่วางไข่เพศผู้, cell เล็กวางไข่ผึ้งงาน - ผึ้งงานให้อาหาร royal jelly

  13. 3.การเลี้ยงดูตัวอ่อน • ให้อาหารroyal jelly (1-4 วัน) • ถ้าเจริญเป็นผึ้งตัวผู้ /ผึ้งงานจะหยุดให้royal jelly

  14. 4. การหาน้ำหวานและเกสรดอกไม้ • - ปรับปรุงเวลาทำงานให้ตรงกับดอกไม้บาน • - เก็บเกสร 25 %, น้ำหวาน 60 % • - กลับรัง จ่ายน้ำผึ้งให้ผึ้งประจำรัง • - ผึ้งประจำรังรับด้วย probosis

  15. 6. การแยกรัง • - ประชากรมากเกินไป • - ไม่มี cell ว่างสำหรับวางไข่/เก็บน้ำหวาน • - นางพญาอายุมากเกินไป • - ผึ้งงานเริ่มสร้าง Queen cell • - ผึ้งงาน1/2 และ ผึ้งนางพญาบินออกจากรัง

  16. 7. การเต้นรำ • 7.1 การเต้นแบบวงกลม(round dance) • แหล่งอาหารไม่เกิน100 ม.

  17. การป้องกันรัง • - เฝ้าหน้ารัง • - ใช้เหล็กไน ต่อยศัตรู • - ฟีโรโมน เตือนภัย (alarm pheromone) กระพือปีกส่งฟีโรโมน

  18. 7.2 การเต้นแบบส่ายท้อง(tail wagging dance) - เต้นเป็นเส้นตรงและวนซ้าย – ขวา ครึ่งรอบ - บอกทิศทางและระยะทางแหล่งอาหาร 9-10=100m 4=1000m ใน15 นาที - ช้าอาหารน้อย แรงและเร็วอาหารมาก 7.3 การเต้นรำแบบเตือนภัย(alarm dance) - เต้นแบบซิกแซก / แบบเกลียว - แกว่งท้องรุนแรง

  19. Insect dance

  20. ปลวก (termite) มีโปรโตซัวย่อยcellulose • วรรณะสืบพันธุ์ (reproductive caste) - King, Queen - Q มีส่วนท้องขยายใหญ่ - Q มีหน้าที่วางไข่

  21. 2. Sterile caste • 2.1 ปลวกงาน(worker) • - ทำความสะอาดรัง • - เลี้ยงดู Q • - cellulase enzyme ย่อย cellulose • 2.2 ปลวกทหาร (soldier) • - ส่วนหัวแข็ง • - mandible ใหญ่

  22. มด 1. นางพญา (Queen) - มีอายุ 12-17 ปี - ไข่วางทั่วไปในรัง - ตัวเต็มวัยเพศเมีย ผสมกับเพศผู้ 2. มดเพศผู้ (Drone) - ผสมพันธุ์และตาย

  23. 3. มดงาน(Worker) • - เพศเมียไม่มีปีก • - มีอายุ 6 ปี • - ดูแลตัวอ่อนในรัง • - ชนิดและทำเครื่องหมายด้วย

  24. สร้างรัง

  25. รังมด

More Related