1 / 90

การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. ผศ. ดร. ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. รู้ก่อน ได้เปรียบ. การพัฒนาสังคมสู่ยุคทุนทางปัญญา. ค.ศ. 1300 คลื่นลูกที่หนึ่ง “ปฏิวัติเกษตรกรรม” การมีที่ดินจะสร้างความมั่งคั่ง.

Download Presentation

การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ผศ. ดร. ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. รู้ก่อน ได้เปรียบ การพัฒนาสังคมสู่ยุคทุนทางปัญญา ค.ศ. 1300 คลื่นลูกที่หนึ่ง “ปฏิวัติเกษตรกรรม” การมีที่ดินจะสร้างความมั่งคั่ง ค.ศ. 1800 คลื่นลูกที่สอง “ปฏิวัติอุตสาหกรรม” การมีเงินทุนสร้างความมั่งคั่ง ค.ศ. 1965คลื่นลูกที่สาม “ปฏิวัติสารสนเทศ” สารสนเทศที่เหนือกว่าจะ สร้างความมั่งคั่ง ค.ศ. 2004 คลื่นลูกที่ 4 “สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ความรู้จะสร้างสมรรถนะเหนือคู่แข่ง”

  3. โลกาภิวัตน์ สินค้า/บริการ คน / แรงงาน ความรู้/ข่าวสาร ทุน เทคโนโลยี ICT ทำให้การบันทึก/แพร่กระจาย ความรู้ง่ายขึ้นและถูกลงมาก บรรษัทข้ามชาติ กระจายการลงทุนและการรับ ช่วงการผลิตไปยังประเทศต่าง ๆ

  4. คุณลักษณะของสังคม/เศรษฐกิจฐานความรู้คุณลักษณะของสังคม/เศรษฐกิจฐานความรู้ สังคมฐานความรู้ ความรู้ทำให้ประชาชนมีอำนาจความมั่งคั่งทางวัตถุและวัฒนธรรมและเป็นสังคมที่ยั่งยืน (WSF, 2003) แรงขับเคลื่อนหลัก เศรษฐกิจ ฐานความรู้ ความรู้ ความรู้ถูกแปรเป็นสินทรัพย์และปัจจัยการผลิตที่สำคัญในการสร้างการเจริญเติบโตในทุกสาขาเศรษฐกิจ (APEC, 2000)

  5. ภาพที่พึงประสงค์ของเศรษฐกิจ/สังคมฐานความรู้ของประเทศไทยภาพที่พึงประสงค์ของเศรษฐกิจ/สังคมฐานความรู้ของประเทศไทย การเข้าถึงความรู้ของ ประชาชนเพิ่มขึ้น ช่องว่างทางความรู้ใน สังคมลดลง การยกระดับและสร้างมูลค่าใน อุตสาหกรรมและบริการ ยุทธศาสตร์ การสร้างผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ร่วมกับความรู้และภูมิปัญญาไทย • การยกระดับคุณธรรมและจริยธรรมนำไปสู่สังคมสันติสุข

  6. ทำไมต้อง ”การจัดการความรู้” ? สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร 1. ภาวะของการแข่งขันทั้งในปัจจุบันและอนาคต 2. กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม และเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) 3. ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี 4. ความรู้ที่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุก 2 -3 ปี การเรียนรู้ที่ เร็วกว่า (faster learning) จะทำให้ได้เปรียบในการแข่งขัน

  7. ทำไมต้อง”การจัดการความรู้” ? • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร 1. ความผิดพลาดซ้ำๆ ของผู้ปฏิบัติงาน 2. ความรู้อยู่ที่ผู้เชี่ยวชาญ เมื่อลาออกไปความรู้ก็จะไปกับ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านั้น ทำให้องค์กรขาดความรู้นั้นไป 3. องค์กรมี Best Practice แต่ไม่เคยนำมาใช้ และบางครั้งองค์กรก็ ไม่รู้ว่า Best Practice ของตนคืออะไร 4. องค์กรมีความคิดริเริ่มซ้ำซ้อน (Wheel reinvention) หรือเรื่อง เดียวกันตลอดเวลา 5. องค์กรต้องการผลงานที่ดีขึ้นในเรื่องของผลกำไร และการ ตอบสนองที่ดีต่อลูกค้า

  8. ทำไมต้อง”การจัดการความรู้” ? • Asset Management • การเปลี่ยนแปลงของกระแสธุรกิจ(New World Economy) • โรคสมองไหล • เครื่องมือพัฒนาบุคลากร • การพัฒนาความรู้ขององค์กร • การแสวงหาความรู้ใหม่ๆ

  9. Asset Management • Tangible Asset • Man • Machine • Money • Material • Intangible Asset • Knowledge • Experience • Competency • Idea/Imaginary • Leadership • Relation/Connection • Team Work

  10. พัฒนาการของทฤษฎีทางการจัดการพัฒนาการของทฤษฎีทางการจัดการ

  11. การบริหารความรู้ในองค์กรเป็นข้อกำหนดในการพัฒนาระบบราชการของ ก.พ.ร. เนื่องจากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 กำหนดไว้ว่าส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประเมินผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในการสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ

  12. ประเด็นการประเมินผล มิติ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ (น้ำหนัก : ร้อยละ 60) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) คุณภาพการให้บริการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ การบริหารความรู้ในองค์กร การลดค่าใช้จ่าย การลดระยะเวลาการให้บริการ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  13. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ (Strategy-focused Organization) การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง Blueprint for Change คุณภาพ quality เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ การดูแลผู้รับบริการ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ ประสิทธิผล effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ&ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  14. ความหมายของการจัดการความรู้ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ เป็นศาสตร์ที่เป็นสหสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับ โมเดลทางธุรกิจ (business model)โดยการใช้ความรู้ ในบริบทของธุรกิจประกอบด้วยการสร้างความรู้ การประมวล การแลกเปลี่ยนในการสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ และการสร้าง นวัตกรรม ในทางปฏิบัติการจัดการความรู้ เป็นการกระทำร่วมกัน ของงานประจำและเทคโนโลยีควบคู่กันๆไป (Ruggles,Rudy. http://www.sims.berkeley.edu./courses/is213/s99/Projects/P9/web_site/about_km.html

  15. เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้ เพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กำหนดไว้ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการคือ - การตอบสนองความต้องการ (responsiveness)ซึ่งอาจเป็นความต้องการของลูกค้า ความต้องการของสังคม หรือความต้องการที่กำหนดโดยผู้บริหารองค์กร - นวัตกรรม (innovation)ซึ่งอาจเป็นนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หรือวิธีการใหม่ ๆ ก็ได้ - ขีดความสามารถ (competency)ของบุคลากร และขององค์กร - ประสิทธิภาพ (efficiency)ในการทำงาน

  16. การจัดการความรู้ - เกี่ยวข้องกับการกำหนดกิจกรรมทางความรู้ในแต่ละ Business Function - โดยการรวมกิจกรรมดังกล่าวกับกระบวนการจัดการความรู้ (KM process) - และเชื่อมโยงกับแรงงานความรู้ (knowledge worker) และชุมชนความรู้ (knowledge communities) - เพื่อให้แน่ใจว่าทรัพย์สินทางความรู้ได้มีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

  17. การจัดการความรู้ในองค์กรการจัดการความรู้ในองค์กร • ในทุกๆหน่วยงานจะมีหน่วยงานย่อย ๆ 2. ในทุก ๆ หน่วยงานทั้งใหญ่และหน่วยงานย่อยต้อง เกี่ยวข้องกับความรู้เนื่องจากองค์กร - ต้องการความคิดสร้างสรรค์ - ต้องการการเรียนรู้ - ต้องการทำสิ่งที่ดีขึ้น - ต้องการสร้างคุณภาพ 3. ต้องการการจัดการความรู้ในทุกขั้นตอนตามกลยุทธ์ขององค์กร - โดยการเชื่อมโยงระหว่างกลยุทธ์และเป้าหมายของ ธุรกิจ - เป็นการทุ่มเทพลังงานและความพยายามไปใน ทิศทางที่ถูกต้อง

  18. Explicit Knowledge Tacit Knowledge

  19. ประเภทของความรู้ 1. ความรู้โดยนัย / เฉพาะตัว (Tacit Knowledge)เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่ สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงานและการแก้ปัญหา 2. ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน (Explicit Knowledge)เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการ ต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร คู่มือต่าง ๆ 3.วัฒนธรรมความรู้ (Culture Knowledge) เป็นความเชื่อ ค่านิยม ระเบียบปฏิบัติ และปทัศสถานขององค์กร ซึ่งจะเกิดจากสภาพแวดล้อมขององค์กร องค์กรที่พัฒนามาเป็นระยะเวลานานจะมีการพัฒนาความเชื่อร่วมกัน และเป็นธรรมชาติขององค์กร ความสามารถหลักขององค์กร ( Core competency) ซึ่งก็คือวัฒนธรรมขององค์กรนั่นเอง

  20. สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(Computer/Information Science) Management = Objects จtเกี่ยวข้องกับ AI/ Re-engineering Information Management ซึ่งกลุ่มนี้เป็นกลุ่มใหม่และเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การจัดการสารสนเทศ (IM) หรือระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) และ Supply Chain / Logistic/ MRP /ERP 2.ศูนย์ความรู้ (Knowledge Center) รวมทั้งการสร้างฐานความรู้และห้องสมุด สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(Philosophy/Psychology/Sociology Business/ Management) Management = Process จะเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงทักษะของบุคคลที่มีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งทักษะและKnow How ซึ่งกลุ่มนี้จะเติบโตช้า 1. การจัดการเกี่ยวลูกค้า (Customer)=CRM Data Warehouse/ Data Miming/ Business Intelligent 2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์(Staff)=HRM/HRD /WBI/ WBT /E-Learning 3. วัฒนธรรมองค์กร ขอบข่ายในการจัดการความรู้ Track = Management of Information (Explicit Knowledge) Track= Management of People (Tacit Knowledge)

  21. กระบวนการของความรู้ Tacit Knowledge ปัญญา การตัดสินใจ คุณค่า ความรู้ ความตระหนัก ประสบการณ์ที่ผ่านมา ExplicitKnowledge สารสนเทศ ประมวลผล ข้อมูล เหตุการณ์

  22. การเรียนรู้ในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้การเรียนรู้ในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ เมื่อก้าวเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ เราต้องเรียนรู้ให้รวดเร็วกว่าคู่แข่ง เรียนรู้ที่สัมพันธ์กับการทำงานและสามารถปฎิบัติงานได้ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

  23. พัฒนาการของการจัดการความรู้พัฒนาการของการจัดการความรู้

  24. ขั้นที่หนึ่ง พัฒนาการของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ ถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practices) วลีที่สำคัญในขั้นนี้ก็คือ Best Practices และการเรียนรู้โดยใช้ “lessons learned”

  25. ขั้นที่สอง พัฒนาการของการจัดการความรู้ เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของมนุษย์และมิติทางวัฒนธรรม - Peter MSenge ได้เสนอเรื่ององค์กรการเรียนรู้ - Nonaka, Ikujiro และ Hirotaks takeuchi แนวความคิดเรื่องความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) วลีสำคัญในขั้นที่สองของการจัดการความรู้ก็คือชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice)

  26. ขั้นที่สาม พัฒนาการของการจัดการความรู้ เน้นความสำคัญของเนื้อหา ( Content) เนื้อหาเอกสารในการประชุม KM world ในปี ค.ศ. 2000 ได้นำเสนอเรื่องการจัดการเนื้อหา (Content Management) เป็นครั้งแรก และปี ค.ศ. 2001 ขั้นที่สาม ของการจัดการความรู้ก็คือการจัดหมวดหมู่ (Taxonomy) และเนื้อหา (Content) โดยจะให้ความสำคัญกับความสามารถในการค้นคืนสารสนเทศ (Retrievability)

  27. กระบวนการจัดการความรู้Model: Probst Knowledge identification knowledge transfer knowledge acquisition knowledge storing knowledge development knowledge utilization

  28. การเปลี่ยนแปลงทางด้านการจัดการสารสนเทศการเปลี่ยนแปลงทางด้านการจัดการสารสนเทศ - สารสนเทศจะเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของมัลติมีเดีย -บัตรรายการ AACR II จะเปลี่ยนเป็น Meta data ตัวอย่างเช่น Metadata Records, RDA, Metadata Schemas, XML, และ FRBRoo Model - หัวเรื่อง จะเปลี่ยนเป็น Ontology - การบริการสารสนเทศ (Information Service) ที่มุ่งเน้นคุณภาพการให้บริการ (Quality of service) การจัดหาเนื้อหาดิจิตอลและให้บริการผ่านเครือข่ายผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ(Content Provider) การให้ความสำคัญกับผู้ใช้บริการ(Customer Oriented) การบริการเชิงรุก(Proactive service)

  29. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์, Web 2.0, Library 2.0, Really Simple Syndication (RSS), Blogs, Wikis. Short Message Service (SMS), Podcasting, Mashups, Tagging, Folksonomies, OpenSource Software (OSS), Open Access (OA) • - บริการ IT resources ที่มีขนาดใหญ่เสมือนจริง และมีความยืดหยุ่นสูง • ผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า Cloud computing ขึ้น และจะเปลี่ยนรูปแบบในการใช้งานจากการซื้อเป็นการเช่า โดยคาดว่า ตลาด Cloud computing services จะมีการใช้งานอย่างแพร่หลายในระยะเวลาอันใกล้ ไม่ว่าจะเป็นในรูป HaaS (Hardware as a Service) PaaS (Platform as a Service) SaaS (Software as a Service) DaaS (Database as a Service) และ IaaS (Integration as a Service) จนอาจจะเรียกว่า Everything as a Service

  30. การเปลี่ยนแปลงทางด้านด้านสื่อสารสารสนเทศการเปลี่ยนแปลงทางด้านด้านสื่อสารสารสนเทศ -สังคมบนเครือข่าย (Social Networking/ Social Computing) เกิดขึ้น เช่น การสื่อสารโดยใช้ facebook , Hi5 เป็นต้น -การเข้าถึงสารสนเทศได้ในทุกที่ทุกเวลา (Access Anywhere, Anytime) จัดเก็บข้อมูล (Communication devices for ubiquitous information)ในอนาคต สามารถเปิดให้เข้าถึงได้ในทุกที่ทุกเวลา สามารถจัดเก็บและนําส่งข้อมูลทั้งข้อมูลตัวอักษร ภาพนิ่ง เสียง เพลง และภาพเคลื่อนไหว • การบริการข้อมูลตำแหน่ง (Location Based Services) เป็นการระบุตำแหน่งที่อยู่ (Location) ซึ่งปัจจุบันใช้เทคโนโลยี Global Positioning System (GPS) และคาดว่าจะมีเทคโนโลยีการระบุตำแหน่งอื่นๆ ที่จะถูกนำมาประยุกต์ใช้ในระยะเวลาอันใกล้ ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ให้มีความถูกต้องยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีความสำคัญในการพัฒนารูปแบบการใช้งาน (Applications) ต่างๆ เพื่อสนับสนุนการสื่อสาร และการแลกเปลี่ยนข้อมูลทั้งในเชิงเศรษฐกิจ และสังคม

  31. ลักษณะองค์กรสมัยใหม่

  32. ลักษณะองค์กรสมัยใหม่

  33. การพัฒนาห้องสมุดสู่ศูนย์ความรู้การพัฒนาห้องสมุดสู่ศูนย์ความรู้

  34. การจัดการความรู้เป็นลำดับที่ละขั้นการจัดการความรู้เป็นลำดับที่ละขั้น

  35. 1.ขั้นเตรียมการ กระบวนการที่ 1 การกำหนดวิสัยทัศน์ที่สัมพันธ์กับแนวคิดทางการจัดการความรู้หรือทุนทางปัญญาเพื่อเพิ่มประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ โดยเปลี่ยนวิธีการดำเนินการองค์กรความตระหนักและผลประโยชน์ขององค์กร โดยการปรับเปลี่ยนองค์กรไปสู่องค์กรความรู้หรือองค์กรการเรียนรู้ และการจัดการทุนทางปัญญา ขั้นที่ 1 : การกำหนดวิสัยทัศน์ (Leadership Formulation) ขั้นที่ 2 : การสื่อสารทั่วทั้งองค์กร

  36. 1.ขั้นเตรียมการ กระบวนการที่ 2 ดำเนินการตรวจสอบวัฒนธรรมองค์กร และระบบค่านิยม เพื่อทำให้แน่ใจว่าวัฒนธรรมองค์กรไม่เป็นผลร้ายต่อการจัดการความรู้และการจัดการทุนทางปัญญา ขั้น 1 : การตรวจสอบค่านิยมทางวัฒนธรรม ขั้น 2 :การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมระดับฝ่ายบริหารและแผนก ขั้น 3 : การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมทั่วทั้งองค์กร การตรวจสอบวัฒนธรรม (Culture audit) และการปรับเปลี่ยนเป็นกระบวนการที่องค์กรพยายามที่จะมองหา implicit values ที่ประกอบกันเป็นรากฐานของรูปแบบพฤติกรรม (behavioral patterns) งานประจำ (work routines) สไตล์ของผู้นำ (leadership style) และรูปแบบการตัดสินใจ

  37. 2. ขั้นยุทธ์ศาสตร์ (Strategic Level) กระบวนการที่ 3 ดำเนินการตรวจสอบความรู้(knowledge audit) วิเคราะห์ช่องว่าง (gap analysis) ของแหล่งความรู้ และหาช่องว่างของความรู้ การพบช่องว่างในการไหลของความรู้ในเครือข่าย ช่องว่างนั้นก็คือพื้นที่ของความรู้ขององความรู้ขององค์กรที่มีข้อจำกัดหรือไม่มีแหล่งทรัพยากรความรู้ ซึ่งจะส่งผลต่อของการปฏิบัติงาน การเติบโต และอัตราความก้าวหน้าในอนาคต การดำเนินการตรวจสอบความรู้ เป็นกระบวนการที่สำคัญ ไม่ใช่ต่อการจัดการความรู้เท่านั้น แต่ยังรวมถึงขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ทั้งในระดับองค์กรและหน่วยงานด้วย สำหรับการสนับสนุนยุทธศาสตร์และยุทธวิธีการแข่งขันสำหรับการจัดการความรู้ เป้าหมายที่สำคัญก็เพื่อค้นหาแหล่งความรู้และเครือข่ายที่องค์กรมีหรือควรมี และช่องว่างที่วิกฤต (critical gaps) ของแหล่งความรู้ในองค์กร ช่องว่างความรู้ที่วิกฤต (critical knowledge gap) เป็นการอธิบายถึงการขาดความรู้ขององค์กร ขั้นที่ 1 การสำรวจสถานะของแหล่งความรู้ ขั้นที่ 2 จัดทำแผนที่แหล่งความรู้ ขั้นที่ 3 การจัดทำเครือข่ายและการไหลของความรู้ภายในและภายนอกองค์กร

  38. 2. ขั้นยุทธ์ศาสตร์ (Strategic Level) กระบวนการที่ 4 ระบุและปรับเปลี่ยนยุทธวิธีความรู้ เพื่อเติมเต็มช่องว่างและเพื่อกระบวนการสร้างความรู้อย่างยั่งยืน ขั้นที่ 1 :กำหนดยุทธศาสตร์ความรู้ที่จะเติมเต็มช่องว่าง ยุทธวิธีที่ดีที่สุดในการจัดลำดับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ /ยุทธศาสตร์ชุมชนนักปฏิบัติ ขั้นที่ 2 : ทำความเข้าใจตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ความรู้ เพื่อการปรับเปลี่ยนหรือการสร้างความรู้ใหม่ ขั้นที่ 3 ความต้องการจำเป็นสำหรับนวัตกรรมกับแบบจำลองในกระบวนการวิกฤตธุรกิจ (Critical Business Process) การดำเนินธุรกิจในทุกพื้นที่หรือทุกกระบวนการจะมีความรู้ทั้งความรู้ที่เปิดเผยและความรู้โดยนัย ทั้งความรู้ที่มีลักษณะการประยุกต์ใช้ได้กว้างหรือแคบ และเกี่ยวกับการรวบรวมความรู้ที่มีอยู่กับความรู้ใหม่ ดังนั้นเพื่อตัดสินยุทธศาสตร์การจัดการความรู้

  39. 3. ขั้นปฏิบัติการ (Operational Level) กระบวนการที่ 5 ดำเนินกระบวนการเผยแพร่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practices) โดยผ่านชุมชนนักปฏิบัติและหน่วยงานกลาง( central unit) ขั้นที่ 1 : กำหนดชุมชนนักปฏิบัติและยุทธศาสตร์ความรู้ ขั้นที่ 2 : สร้างชุมชนนักปฏิบัติทั้งในส่วนกลางและหน่วยงาน ขั้นที่ 3 : การประเมินกรณีการสร้างชุมชนนักปฏิบัติ 3.1 วางโครงร่างของชุมชนนักปฏิบัติ ซึ่งควรจะมีรายละเอียดรวมถึงบทบาทต่างๆ 3.2 จัดทำ workshop ระหว่างผู้นำและสมาชิกทุกคนของชุมชนนักปฏิบัติ 3.3 กำหนดงานการพัฒนาการจัดหมวดหมู่ความรู้ให้กับสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติใช้ในการเข้าถึงความรู้

  40. 3. ขั้นปฏิบัติการ (Operational Level) กระบวนการที่ 6 กำหนดแนวทาง (guideline) ระบบสนับสนุน โครงสร้างสารสนเทศที่ไม่เป็นทางการของชุมชนนักปฏิบัติ โดยมุ่งความสนใจในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ความรู้ขององค์กรต้องมีการกำหนดเป็นประเด็น (domain) ความรู้สำหรับชุมชนนักปฏิบัติ ที่เป็นรูปแบบสำหรับการฝึกปฏิบัติที่แน่นอนจากส่วนกลาง ที่เป็นเจ้าของกระบวนการของการกระจายการปฏิบัติ, การประยุกต์ใช้, การทำให้เป็นปัจจุบันและความเหมาะสมกับแต่ละองค์กร ขั้นที่ 1 : นำเสนอการปฏิบัติที่เป็นเลิศให้คณะกรรมการทบทวน โดยดำเนินการดังต่อไปนี้ กระจายการปฏิบัติที่เป็นเลิศไปสู่หัวหน้าแผนกที่เกี่ยวข้องเพื่อกระตุ้นพนักงานในการระบุและสะสมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ -ส่งเสริมแผนกให้ยอมรับการการปฏิบัติที่เป็นเลิศและจัดให้มีวันนำเสนอการปฏิบัติที่เป็นเลิศประจำปี -สร้างแฟ้มสะสม (portfolio) ของการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ขั้นที่ 2 ประเมินตรวจสอบรับรองว่าถูกต้องและการกระจาย ขั้นที่ 3 การประเมินและประยุกต์ใช้ความรู้

  41. 3. ขั้นปฏิบัติการ (Operational Level) กระบวนการที่ 7ออกแบบสถาปัตยกรรมฐานความรู้ (knowledge base architecture) สนับสนุนการสร้างความรู้และงานหลักของธุรกิจ โดยมีกระบวนการเลือก เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม เพื่อทำให้มี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งความรู้โดยนัย และความรู้ที่ปรากฏ ขั้นที่ 1 : การออกแบบและสถาปัตยกรรม 1. ศูนย์ความรู้ (Knowledge Centers)รวมความรู้ต่างๆ เพื่อสนับสนุนกระบวนการเกิดภาวะวิกฤตเพื่อสร้างศูนย์ความรู้ 2.ศูนย์การเรียนรู้ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning Centers)ทำให้เกิดการเรียนรู้มากที่สุดโดยจัดให้มี e-learning material ที่มีความรับผิดชอบในด้านการแสดงความรู้และความต้องการพัฒนาให้เป็นมืออาชีพ

  42. 3. ขั้นปฏิบัติการ (Operational Level) กระบวนการที่ 7ออกแบบสถาปัตยกรรมฐานความรู้ 3. ฐานข้อมูลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices Database) จัดให้มีการเข้าถึงการปฏิบัติที่เป็นเลิศกับแนวทางเพื่อผลลัพธ์ นี่รวมถึงบทเรียน (Lessons Learned) และ แนวทางในการแก้ปัญหา (solutions ) 4. นามานุกรมผู้เชี่ยวชาญ (Expert Directory)จัดให้มีการติดต่อสารสนเทศของความรู้และสาระสำคัญที่แบ่งประเภทตามการปฏิบัติ, ความรู้,และประสบการณ์ ขั้นที่ 2 : ออกแบบศูนย์ความรู้ ขั้นที่ 3 : พัฒนาการจัดหมวดหมู่ความรู้สำหรับฐานความรู้ Company Logo

  43. Strategic Levers’ Link in Knowledge and LearningManagement Tacit/ExplicitKnowledgeEfficiency Knowledge Management Knowledge Connectivity Strategy Knowledge Innovation Learning Organization Intellectual capital Learning Behavior Core Competency Performance Development People Mindset Improvement Tool/Technique Equipment Performance Manufacturing Scorecard Learning Capability Cost Performance

  44. การกำหนดกลยุทธ์KMขององค์กรการกำหนดกลยุทธ์KMขององค์กร วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ด้านทิศทางดำเนินธุรกิจBusiness Strategy กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์Human Resource Strategy กลยุทธ์ด้านลูกค้า customerStrategy กลยุทธ์ด้านโครงสร้างองค์กรOrganizationaland Structure Strategy

  45. การเปลี่ยนผ่านองค์กร องค์กรดั้งเดิม องค์กรการเรียนรู้ องค์กรนวัตกรรม ลักษณะองค์กร การจัดการนวัตกรรม ลักษณะ การบริหารจัดการ แบบราชการ การจัดการความรู้ การจัดการทุนทางปัญญา

  46. ทุนทางปัญญา สิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธ์ ทุนลูกค้า +ทุนตลาด วัฒนธรรมองค์กร Knowledge Asset ทุนองค์กร การทำงานเป็นทีม ผู้นำ ทุนมนุษย์ สมรรถนะของบุคลากร

  47. Information Technology (Strategic Tools) Organization Information And Knowledge ERP SOA Information Management Dissemination Information And Knowledge Document Center Learning Resource Center / information commons Media Center/E-Learning Knowledge Center

  48. เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้ 1)เพื่อพัฒนางานคือการพัฒนาคุณภาพองค์กรให้บรรลุ ตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ให้เกิดสัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น 2) เพื่อการพัฒนาคนคือ พัฒนาทักษะของผู้ปฏิบัติงาน 3) การพัฒนานวัตกรรมใหม่คือ สินค้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 4) เพื่อการพัฒนา “ฐานความรู้” ขององค์กรหรือการเพิ่มพูนทุนความรู้หรือทุนปัญญาขององค์กร ซึ่งจะช่วยทำให้องค์กรมีศักยภาพในการฟันฝ่าความยากลำบากหรือความไม่แน่นอนในอนาคตได้ดีขึ้น

  49. เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้ เพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กำหนดไว้ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการคือ - การตอบสนองความต้องการ (responsiveness) ซึ่งอาจเป็นความต้องการของลูกค้า ความต้องการของสังคม หรือความต้องการที่กำหนดโดยผู้บริหารองค์กร - นวัตกรรม (innovation) ซึ่งอาจเป็นนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หรือวิธีการใหม่ ๆ ก็ได้ - ขีดความสามารถ (competency) ของบุคลากร และขององค์กร - ประสิทธิภาพ (efficiency) ในการทำงาน

  50. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นหัวใจของการจัดการความรู้ การจัดบรรยากาศและเครื่องอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถือเป็นการจัดการความรู้ทั้งสิ้น

More Related