1 / 103

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

การคำนวณต้นทุนผลผลิต. ท่านทราบหรือไม่ว่า ?. ต้นทุนในการเก็บภาษี 1 ล้านบาท มีต้นทุนกี่บาท ของกรมสรรพากร ของกรมศุลกากร ของกรมสรรพาสามิต ต้นทุนในการก่อสร้างถนน 1 กิโลเมตรมีต้นทุนกี่บาท (กรมทางหลวง / กรมทางหลวงชนบท) การดำเนินการจดทะเบียนรถ ต่อครั้ง มีต้นทุนกี่บาท

duman
Download Presentation

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณต้นทุนผลผลิต

  2. ท่านทราบหรือไม่ว่า? ต้นทุนในการเก็บภาษี 1 ล้านบาท มีต้นทุนกี่บาท ของกรมสรรพากร ของกรมศุลกากร ของกรมสรรพาสามิต ต้นทุนในการก่อสร้างถนน 1 กิโลเมตรมีต้นทุนกี่บาท (กรมทางหลวง /กรมทางหลวงชนบท) การดำเนินการจดทะเบียนรถ ต่อครั้ง มีต้นทุนกี่บาท การดำเนินการด้านใบอนุญาตขับรถ ต่อราย มีต้นทุนกี่บาท การคืนหรือยกเว้นอากรเพื่อส่งเสริมการส่งออก 1 ฉบับ การบริหารจัดการหนี้สาธารณะมีต้นทุนรวมเท่าไร การรับจดทะเบียนจัดตั้ง/เปลี่ยนแปลงแก้ไข/เลิกธุรกิจของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 1ราย มีต้นทุนเท่าไร 1 ลบ. = 6,983.57 บาท หรือ 0.007 ต่อ 1 บาท • 1 ลบ. = 26,843.83 บาท หรือ 0.027 ต่อ 1 บาท = 5,029.73 บาท หรือ 0.005 ต่อ 1 บาท • กรมทางหลวง 39 ล้านบาท/กรมทางหลวงชนบท เขตเมือง 14 ล้าน เขตชนบท 2 ล้านบาท • 249.68 บาท • 96.84 บาท • 90.52 บาท • 105 ล้าน ต่อการบริหารหนี้ 3 ล้านล้านบาท • 207.99 บาท

  3. ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4

  4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

  5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  6. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  7. วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิตวัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ การวัดผลการดำเนินงาน

  8. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ

  9. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การบัญชีต้นทุน Cost accountingหมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนกการปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร

  10. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ

  11. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนทางตรง Direct Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด

  12. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนทางอ้อม Indirect Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Centerใดเพียงแห่งเดียว

  13. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การปันส่วนต้นทุน Allocationหมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ

  14. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนรวม Full Costหมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง

  15. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ผลผลิต Outputหมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงาน ภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดราคาผลผลิต และจัดสรร เงินลงทุน หลักในการพิจารณาแนวโน้มการดำเนินงาน เพื่อวัดผลการดำเนินงาน

  16. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ งานบริการสาธารณะ Public Serviceหมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยทั่วถึง

  17. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยต้นทุน Cost Centerหมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต

  18. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยงานหลัก Functional Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน

  19. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน

  20. แนวทางการคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2552

  21. ความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อยความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อย 1. การตัดสินใจในการบริหารองค์กรโดยใช้ข้อมูลต้นทุนที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กร และผลประโยชน์ของประเทศชาติ 2. การระบุทรัพยากรเข้าสู่กิจกรรม และพิจารณาว่ากิจกรรมได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างไร ซึ่งเป็นปัจจัยในการพิจารณาต้นทุนของผลผลิต 3. ในการหาต้นทุนกิจกรรม ถ้าหน่วยงานมีกิจกรรมที่เหมือนหน่วยงานอื่นก็ ควรกำหนดงานนั้นขึ้นเป็นกิจกรรมและกำหนดหน่วยนับให้เหมือนหน่วยงานอื่น เช่น กิจกรรมการก่อสร้าง เป็นกิจกรรมที่เอกชนก็ทำ ก็ควรกำหนดเป็นกิจกรรมเพื่อหาต้นทุนพร้อมหน่วยนับที่เหมือนกัน ถ้าภาครัฐดำเนินงานไม่มีประสิทธิภาพ เราสามารถพิจารณา outsource จ้างเอกชน

  22. คำศัพท์ ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิตผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  23. คำศัพท์ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  24. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย ส่วนราชการต้องวิเคราะห์กิจกรรมในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน และทำการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อยเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานในรูปของต้นทุนกิจกรรมต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมควรจะสามารถเปรียบเทียบได้ระหว่างปีของหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานได้

  25. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • นักวิเคราะห์จะกำหนดกิจกรรมละเอียดหรือหยาบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ การระบุกิจกรรมที่ละเอียดเกินไปอย่างทำให้ต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้รับไม่คุ้มกัน • ต้นทุน-ประโยชน์ คุ้มหรือไม่ขึ้นอยู่กับความตั้งใจในการใช้ข้อมูลต้นทุนกิจกรรม • การตัดสินใจพัฒนากิจกรรมขององค์กรอาจต้องการข้อมูลกิจกรรมที่ละเอียด • เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน • แต่ละศูนย์ต้นทุนทำกิจกรรม 1 กิจกรรมหรือมากกว่า เพื่อที่จะสร้างผลผลิต

  26. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • Top-down approach • Interview or participative approach • Recycling approach

  27. วิธี Top – down approach • แต่งตั้งคณะทำงานวิเคราะห์กิจกรรม • คณะทำงานต้องมีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในกระบวนการทำงานของหน่วยงานเป็นอย่างดี ข้อดี • สามารถกำหนดกิจกรรมได้อย่างรวดเร็ว • ต้นทุนต่ำ • องค์กรขนาดใหญ่มักใช้วิธีนี้ในการกำหนดกิจกรรม

  28. วิธีการสัมภาษณ์หรือการมีส่วนร่วมInterview or participative approach • แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อสัมภาษณ์กิจกรรมจากพนักงาน • แต่งตั้งคณะทำงานที่ประกอบด้วยพนักงานจากศูนย์ต้นทุนต่างๆ ข้อดี • การกำหนดกิจกรรมจะถูกต้องมากกว่าวิธี Top – down approach ข้อเสีย • ใช้เวลามาก • พนักงานปิดบังข้อมูลที่แท้จริงเพราะกลัวว่าผู้บริหารระดับสูงจะทราบข้อมูลการทำงานของตน

  29. วิธีการใช้ข้อมูลที่มีอยู่Recycling approach • ใช้เอกสารเกี่ยวกับเกี่ยวกับกระบวนการทำงานที่มีอยู่แล้ว เช่น เอกสารภารกิจตามกฎกระทรวง ข้อดี • ใช้เวลาน้อย • รวดเร็ว

  30. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • โครงสร้างของส่วนราชการว่าประกอบด้วย สำนักฯ กอง ศูนย์ อะไรและมีภารกิจอะไรจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับศูนย์ต้นทุน • ในช่วงเริ่มแรก การกำหนดกิจกรรมในศูนย์ต้นทุนอาจจะกำหนดจากจำนวนฝ่ายหรือกลุ่มย่อยภายใต้ศูนย์ต้นทุนหรือกิจกรรมการทำงานหลักที่เกิดขึ้นจริง • กำหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้พิจารณาดังนี้ • กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับตามหน่วยงานอื่น • กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับให้เหมาะสมโดยคำนึงถึงความสม่ำเสมอในแต่ละปี โดยหน่วยนับแสดงถึงปริมาณงานของกิจกรรม

  31. การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยการวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย • ผลผลิตย่อย ต้องเป็นผลผลิตที่ส่งมอบให้กับบุคคลภายนอกที่มี ความละเอียดในส่วนของชื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ส่วนราชการ ดำเนินการผลิต รวมถึงต้องมีการกำหนดหน่วยนับให้เหมาะสม

  32. สิ่งสำคัญในการกำหนดผลผลิตย่อย คือ ต้องมีความสม่ำเสมอและสามารถเปรียบเทียบได้ในแต่ละปีตลอดจนBenchmark ได้ทั้งภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงาน การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย

  33. การคำนวณหาต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุนการคำนวณหาต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน 1. เมื่อดึงข้อมูลจากระบบ GFMIS แล้ว ให้ส่วนราชการพิจารณาว่าต้นทุนที่เกี่ยวข้อง กับการดำเนินงานก่อให้เกิดผลผลิตมีอะไรบ้าง และตัดต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานออกไป 2. ในระบบ GFMIS ต้นทุนทางตรงจะถูกบันทึกเข้าสู่ศูนย์ต้นทุนแล้ว ดังนั้นเราจะทราบต้นทุนของแต่ละศูนย์ต้นทุน 3. สำหรับต้นทุนทางอ้อมต้องอาศัยเกณฑ์การปันส่วน เพื่อระบุต้นทุนเข้าสู่ศูนย์ต้นทุน ในการพิจารณาเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนทางอ้อมเข้าสู่ศูนย์ต้นทุนให้หน่วยงานกำหนด ตามความเหมาะสมอย่างยุติธรรม โดยพิจารณาถึงปัจจัยที่ทำให้ต้นทุนนั้นผันแปร เพื่อที่จะใช้เป็นตัวผลักดันต้นทุนเข้าสู่ศูนย์ต้นทุน

  34. การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมย่อยการคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมย่อย การคำนวณต้นทุนกิจกรรมย่อยให้หน่วยงานนำต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุนโดยแยกประเภทตามแหล่งของเงินและค่าเสื่อมราคา แล้วจึงปันส่วนต้นทุนเข้าสู่กิจกรรมย่อย สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ให้หน่วยงานใช้เกณฑ์การปันส่วนในการกระจายต้นทุนจากศูนย์ต้นทุนเข้าสู่กิจกรรมย่อยที่ศูนย์ต้นทุนนั้นดำเนินการโดยให้แยกแสดงต้นทุนนั้นตามแหล่งของเงินและค่าเสื่อมราคาตัวอย่าง เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนจากศูนย์ต้นทุนเข้าสู่กิจกรรมย่อย เช่น เกณฑ์ภาระงาน หรือ เกณฑ์สัดส่วนการใช้วัสดุครุภัณฑ์

  35. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตสำหรับส่วนราชการสังกัดกระทรวงรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตสำหรับส่วนราชการสังกัดกระทรวง

  36. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 1 รายงานต้นทุนรวมของหน่วยงานโดยแยกประเภทตามแหล่งเงิน

  37. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 2 รายงานต้นทุนตามศูนย์ต้นทุนแยกตามประเภทค่าใช้จ่าย

  38. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 3 รายงานต้นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งของเงิน

  39. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 4 รายงานต้นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งของเงิน

  40. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 5 รายงานต้นทุนผลผลิตย่อยแยกตามแหล่งของเงิน

  41. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 6 รายงานต้นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่งของเงิน

  42. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง

  43. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 2 รายงานต้นทุนตามศูนย์ต้นทุนแยกตามประเภทค่าใช้จ่าย ปีงบประมาณ 2551

  44. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 3 รายงานต้นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งเงิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

  45. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 4 รายงานต้นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งเงิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

  46. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 5 รายงานต้นทุนผลผลิตย่อยแยกตามแหล่งเงิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

  47. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 6 รายงานต้นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่งเงิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

  48. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 7 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งเงิน

  49. ตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลางตัวอย่างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง ตารางที่ 7 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งเงิน (ต่อ)

More Related