1 / 17

ประสบการณ์ และ นิสัย

duane
Download Presentation

ประสบการณ์ และ นิสัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ใจความ : การแปลสำหรับนักแปลมืออาชีพ มันคือ วัฏจักรแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องซึ่ง เคลื่อนที่ตามสัญชาตญาณ ประสบการณ์ นิสัย และในประสบการณ์ที่มีในด้านการเดาความหมาย การสร้างรูปแบบ และกระบวนการนั้น นักแปลที่เป็นมืออาชีพจะมีจิตใจหรือความคิดที่สลับซับซ้อนเป็นธรรมชาติ ส่วนผู้ที่เรียนรู้ใหม่จะต้องเผชิญและ แก้ไขกับปัญหาใหม่ๆอย่างมีสติ ประสบการณ์ และ นิสัย ในบทนี้ เราจะเน้นข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนการที่นักแปลนิยมใช้ เช่น วิธีการที่นักแปลควบคุมกับนิสัยและความชอบส่วนตัวกับกระบวนการทั่วไปสำหรับ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้เป็นที่น่าสนใจ กล่าวโดยย่อ 1) มีจินตนาการควบคู่ไปกับการแปลราวกับว่าทำทั้ง2อย่างพร้อมกัน 2) การวิเคราะห์ที่ใช้สมาธิมากซึ่งนักแปลดูคำเหมือนซ้ำแล้วซ้ำเล่า ดูคำศัพท์ในพจนานุกรม สารานุกรม และอื่นๆ ตรวจไวยกรณ์ของประโยค

  2. นักแปลที่มีประสบการณ์จะทำงานเสร็จอย่างรวดเร็ว ยิ่งทำเสร็จเร็วเท่าไหร่ นั่นหมายถึงรายได้ที่จะได้รับ การวิเคราะห์อย่างมีสติ คือสิ่งที่ให้ชื่อเสียงในด้าน ความซื่อสัตย์และ ความมีไหวพริบ แม้ว่าจะช้า และบางทีรายได้น้อย แต่ถ้านักแปลไม่ผ่านในจุดนี้ ก็จะไม่สามารถทำอะไรที่ยากกว่านี้ได้ • การอุปมาอุปมัยอาจจะทำให้เกิดกลไกในการแปล แท้จริงแล้วมันเกิดจากประสบการณ์และปัจจัยต่างๆสิ่งที่ได้จากประสบการณ์หรือการวิเคราะห์คือ การเก็บสะสม การนำความรู้เดิมมาใช้จนกลายเป็นความเคยชิน ในด้านการวิเคราะห์ จะนำมาจากนิสัยส่วนตัวของเราเอง เพื่อเป็นการเพิ่มความสนุกสนานในการแปล

  3. นิสัยและประสบการณ์ใหม่คือ กุญแจที่สำคัญที่สุดในความสำเร็จ ประสิทธิภาพ และความสนุกสนาน เราต้องการทั้งความชำนาญ และการเรียนรู้จัดการกับสิ่งที่ไม่เคยพบเจอ ถ้าปราศจากความสดใหม่ ก็ไม่ต่างอะไรสิ่งที่ผ่านๆมา Charles Sanders Pierce กับประสบการณ์ สัญชาตญาณ และความเคยชิน นักปรัชญาและผู้ก่อต้องวิชาว่าด้วยเครื่องหมาย เขากล่าวว่า ความเชื่อต่อหรือกระบวนการ3ขั้นตอน เกิดจากประสบการณ์ สัญชาตญาณ และความเคยชิน สัญชาตญาณ คือสิ่งแรกหรือการอ่านทั่วๆไป, ประสบการณ์ อย่างที่สอง คือการเข้าถึงสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก, ความเคยชิน อย่างที่สาม คือการผสมผสานประสบการณ์และสัญชาตญาณเข้าด้วยกัน ประสบการณ์บางทีก็ไม่ได้มาจากสิ่งรอบตัว มันกำกวมเพราะมันมีความหลากหลายมาก ประสบการณ์เกิดขึ้นจากสัญชาตญาณความชอบของบุคคล แปลข้อความที่แน่นอน

  4. กระบวนการแปลของ Pierce อาจสรุปได้ว่า นักแปลเริ่มต้นจากไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับเนื้อหา (สัญชาตญาณ) แปลกลับไป-มาระหว่าง 2 ภาษา รับรู้ถึงความเหมือน-ต่างของคำและโครงสร้าง (ประสบการณ์) และจัดการกับปัญหาที่มี (ความเคยชิน) ซึ่งจะช่วยให้คุณแปลได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ • บทที่ 4 หน้า 84-86 แปลโดย นาย สรสิช ปาลคำ 51501030063-7 อ.ส.3-1

  5. ลักษณะที่ 2 ของ Peirce สัญชาตญาณ ประสบการณ์ นิสัยในการแปล นักแปลต้องเตือนตัวเองในการที่จะแก้ปัญหา ให้เล็กลงที่สุด ด้วยความสามารถ และ วิธีการที่หลากหลาย จากแหล่งข้อมูล และคุณจะเป็นมืออาชีพในที่สุดจนกระทั่ง ความสามารถในการเป็นอาชีพทีมีอยู่ของคุณจะค่อยๆ ซึมซับในนิสัย และเมื่อใดก็ตามที่มี องค์ประกอบ และ ประสบการณ์ อย่างเต็มที่มีสติ และ วิเคราะห์ จะข่วยแก้ปัญหาที่ยากได้

  6. Abduction , induction , deduction ประสบการณ์ของนักแปลจะมีประโยชน์เมื่อนำ 3 หลักการของ Peirce มาใช้คือ abductioninductiondeduction เริ่มต้นด้วยหลักการทั่วไป และหักลบด้วยรายละเอียดเฉพาะ Abduction คือสิ่งที่ Peirce สร้างขึ้น เกิดจากความรู้สึกของพวกเขาซึ่ง induction และ deduction ไม่เพียงพอ จินตนาการไม่ได้ถูกจำกัดไว้ที่ 1 หรือ 2 ลักษณะ แต่ในความเป็นจริงแล้ว induction หรือ deduction คือ การกำหนดแนวคิดใหม่ HencePeirce ตั้งสมมุติฐาน Abduction คือ พฤติกรรมของการกระทำโดยสัญชาตญาณจากสิ่งที่อธิบายไม่ได้ การใช้ 3 ประเด็นนี้เพื่อ ประสบการณ์การดำเนินงาน ดังนั้น เราสามารถเริ่มต้นที่การขยายส่วนกลางของการเคลื่อนไหวของนักแปลจากสัญชาตญาณ จนถึงความเคยชิน

  7. ประสบการณ์ของนักแปล เริ่มต้นจาก Adductive จาก2 สถานที่ อันดับแรก ความใกล้ชิดกับชาวต่างชาติ จากเสียงที่เข้าใจยาก หรือ สัญลักษณ์ที่แสดงความหมาย หรืออย่างน้อยการเดาว่า คำศัพท์มีความหมายว่าอะไร และ แนวทางแรกที่จะนำไปสู่ที่มาของบทความ Abductively เป็นประสบการณ์หนึ่ง คือ การไม่รู้ในการดำเนินการ จะทำให้สับสน และจะทำให้รู้สึกกลัวในการทำงาน ในการดำเนินการแปล จะต้องแปลอย่างต่อเนื่อง และ เป็นลำดับในการทำงาน Abduction เป็นเรื่องที่ยาก เพราะมันเป็นครั้งแรก Induction เป็นเรื่องง่าย เพราะ มันได้ถูกแยกออกให้เป็นเนื้อเดียวกัน โดยที่เรื่องมันมีความสัมพันธ์กัน และ เจาะจงเป็นพิเศษ Deduction เริ่มขึ้นเมื่อผู้แปลมี การวางแผน หรือ กฎเกณฑ์ ในปัจจัยที่จะทำให้รู้สึกมั่นใจ เกี่ยวกับการสร้างหลักการทั่วไป โดยมีวิธีการ ,หลักการ, และกฎข้อบังคับ เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการแปลทฤษฎี

  8. ลักษณะที่ 3 สัณชาตญาณของPeirce,ประสบการณ์, แบบแผน, และการรวบรวม, การเผชิญหน้า, การหลบเลี่ยงในกลุ่มการแปล Peirce กล่าวว่า กระบวนการนี้ให้รายละเอียดได้ดีที่สุดใน2 ขั้นตอน,การคัดเลือก, การจดจำ เอ็มกริฟฟิน ได้สรุปแนวคิดของเพียสในหนังสือ “ทฎษฎีการสื่อสารในครั้งแรก” ในขั้นแรกคือกฏเกณฑ์ คือทำทุกสิ่งให้ง่ายเพื่อทำให้สามารถลุยผ่านไปสู่ผลลัพธ์ที่ยากจะเข้าใจ โดยไม่สุ่มเสี่ยง ( กริฟฟิน 1994:280 ) นี้คือความชัดเจนแบบง่ายๆ ซึ่ง ชาร์ท เซนเดอร์เพียส เรียกว่า “การหลีกเลี่ยง” จากการที่จะผ่านสถานการณ์ที่ยากเข้าใจที่อยู่รอบตัว คนมักพูดว่าความซับซ้อนในสถานการณ์จริงรายงานว่ามันล้มเหลวบ่อยครั้ง ความจริงนั้นกฎ 2 ข้อ นี้ขัดแย้งกันเมื่อใช้พร้อมกัน กับสถานการณ์เดียวกัน มีขั้นตอนยากในการเลือก กฎหนึ่งแก้ปัญหาที่ละส่วนในการแก้ปัญหาที่เหลืออยู่ ก็ต้องทำตามกฎ กฎอีกข้อคือต้องค่อยๆ แก้ปัญหาไปทีละนิดเป็นอย่างแรก

  9. ให้ความ สนใจในวัฏจักรของการเหนี่ยวนำ คุณ รอบออกไปจากปัญหาในการค้นหาทางออก เก็บเกี่ยวการเรียนของการกระทำตามที่คุณไป และ วัฎจักร ก็จะกลับมาสู่ปัญหาถึงสิ่งที่คุณได้เรียนไป คุณพยายามทำบางสิ่ง แต่มันไม่ได้ผล ซึ่งหมายถึงการนำกลับไปสู่ที่ๆคุณเริ่ม นอกจากตอนนี้ คุณรู้หาทางที่จะไม่สำเร็จ คุณจึงสร้างมันขึ้นมา และคุณก็พยายามอีกครั้งในอนาคตข้างหน้า บางทีวัฎจักรที่สำคัญที่สุดของการแปล ที่แวค เรียกว่า การปรับการตอบสนอง และ การเกี่ยวข้องกับความเห็นจากผู้คนที่ซึ่งเป็นเส้นทางและการกระทำผิดพลาดมีผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงในการกระทำ วัฎจักรนี้เรียกโดยทั่วไปว่า การตัดสินใจร่วมกันทำ มันเกี่ยวข้องถึงการที่ผู้คนพูดคุยกันเป็นรายบุคคล หรือ ในกลุ่มเล็กๆ โทรไปหาพวกเขาทางโทรศัพท์ ส่งแฟกซ์ไปให้พวกเขา หรือ ข้อความอีเมลล์ พาพวกเขาไปกินข้าว สอบความคิดเห็นให้พวกเขาตรวจสอบงานของพวกคุณ เป็นต้น ในแต่ละปฎิกิริยาโต้ตอบ ไม่ใช่แค่ผลิตทางแก้ไขปัญหา จุดรวมสมองผู้อื่น มันยังกำจัด สิ่งที่เก่าๆที่ไม่ได้ทำงานออกไปอีกด้วย การย้ายความซับซ้อนของสถานการณ์ค่อยๆต่อความชัดเจนและความแน่นอนในการตัดสินใจ อย่างที่ เอท กิฟฟิน พูด “ช่น เปิดเต็มของข้อเหวี่ยงที่ เสื้อผ้าแต่ละรอบการสื่อสารบีบออกที่ไม่แน่นอนของสถานการณ” (กิฟฟิน 1994:281)

  10. ระยะที่ 3 ของความจำซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของพฤติกรรมของ เปิยส ไม่เหมือนกับเปิยส อย่างไรก็ตาม แวคปฐิเสธที่จะเห็นความจำในรูปแบบคงทนของกระบวนการ แวคพูดว่า “ควรที่จะได้รับการลูแลเหมือนสัตว์ แมลงต่างๆ ในขณะที่ความจำส่วนใหญ่ยังคงอยู่” แวคได้กระตุ้นผู้นำต่างๆ เพื่อต่อ การสูญเสียสิ่งที่พวกเขาคิดเอาไว้ ข้อสงสัย ข้อโต้แย้ง ความหวาดระแวง การโต้ตอบ ความท้าทาย คำถาม วอกแวก และ แม้แต่จอมปลอม เจ้าเล่ห์ (กิฟฟิน 1994:283) กระบวนการของการแปล อะไรคือรูปแบบขบวนการการแปลแนะนำในเงื่อนไขของ เปิยส จากนั่น คือสิ่งที่ผู้ที่เริ่มหัดแปล เริ่มต้นด้วยการ เข้าถึงบทความด้วยสัญชาตญานที่พวกเขารู้ว่าจะทำยังไงกับมัน นั่นพวกเขาจะเก่งขึ้น และอาจจะสนุก และที่เป็นอยู่จริง หน้า 92 การโจน อุปนัย คัดเลือก ทดสอบ การลงความเห็นในลักษณะกว้างๆ นั่นจะช่วยให้นักแปลปรับปรุงการแปลให้เป็นมือชาชีพ? จะทำยังไงให้เป็นนิสัย เปลี่ยนแปลง ”ล่าสุด” ประสบการณ์ หรือ บทเรียนต้องถูกคิดอย่างระมัดระวังในทางเทคนิค ที่ดูเหมือนจะเป็นไปตามธรรมชาติ

  11. อย่างที่ เปิยสเริ่มคิด ว่า การเคลื่อนที่ของสัญชาตญานผ่านประสบการณ์ สู่นิสัย นิสัยคือ จบ สัญชาตญาณและประสบการณ์มันรวมอยู่ในนิสัย และมันจะหยุด แวคคิดว่า ที่จริงแล้วรูปแบบของ เปียส น่าจะแบนไปในวัฎจักร โดยเฉพาะการแสดงออก และ การตอบสนอง กราฟสามารถวาดได้เหมือนวงล้อของรถ เส้นข้ามข้างบนทำให้เห็นวิธีการเคลื่อนที่ของรถ เดินหน้าไปทางขวา ถอยหลังไปทางซ้าย ตราบใดที่ล้อหมุนตามเข็มนาฬิกา รถเดินหน้าไป การแปลก็จะไปเป็นอย่างนุ่มนวล และ นักแปล/คนขับ คือโอกาสที่จะระวังการหมุนของล้อ เส้นผ่านข้างบน คิอ นิสัยที่ขัดแย้ง และ สัญชาตญาณ ผู้แปลเข้าถึงบทความใหม่ งานใหม่ สถานการณ์ใหม่ ด้วนสัญชาตญาณ หรือ การชี้แนะความเตรียมพร้อม ความรับรู้ถึงพรสวรรค์ของตัวพวกเขาและเธอในภาษาของเขาเองและการแปลที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วยประสบการณ์ นิสัยที่ทำโดยอัตโนมัติจนเกินควร ที่เป็นไปตามสัญชาตญาณ

  12. ประสบการณ์เริ่มต้นขึ้นด้วยความรู้พื้นฐานทั่วไปของโลก (บทที่ 5) ประสบการณ์ที่ต่างกันในการพูดและแสดงออกของมนุษย์(บทที่ 6) ประสบการณ์กับอาชีพต่างๆ (บทที่ 7) ประสบการณ์กับความซับซ้อนของเหล่าภาษา (บทที่ 8) ประสบการณ์กับระบบสังคม (บทที่ 9), และประสบการณ์ของความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ปทัสฐาน คุณค่าและฐานคติ (บทที่10). ความรู้เหล่านี้หรือประสบการณ์ก็ดีจำเป็รต้องที่จะถูกค้นหา ถูกสร้างขึ้น และถูกรวมให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างกลมเกลียว โดยเฉพาะการเริ่มต้นของงานนักแปลที่ซึ่งไม่ใช่เพียงลำพังด้วยวันเวลาที่ผ่านไปในแต่ละปีผลการทำงานในโลกประสบการณ์ของนักแปลจะขยายและดำเนินไปโดยปราศจากความรู้ที่ตะหนักได้ของพวกเขา

  13. ในยุคของการติดต่อสื่อสารด้วยภาษาซึ่งมียู่ในเวลานี้หรือด้วยสถานการณ์ นักแปลมีสัญชาตญาณหรือจิตวิญญาณของความสามารถพวกเขาที่จะจัดการไม่ว่าปัญหาใดๆจะเกิดขึ้นก็ตามและมีความสามารถที่จะกะโดดข้ามอุปสรรคต่างๆไปยังแนวทางการแก้ปญหาใหม่ๆได้ ปัญหาและความยากลำบากจะเริ่มกลับมาทีละน้อยและกลายมาเป็นแบบแผนในที่สุด นี่ก็คืออุปนัย หรือการสรุปจากการสังเกตสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น ตราบใดที่นักแปลเริ่มที่จะสังเกตและรู้จักเชื่อมโยง หรือศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและความสม่ำเสมอต่างๆเหล่านี้ การอนุมานก็จะเริ่มด้วยทฤษฏีของการแปลนั่นเอง

  14. ณ จุดที่ง่ายที่สุด การอุปมานเกี่ยวข้องกับปัญหาเล็กน้อยไปจนถึงปัญหาที่ใหญ่โต มีผลต่อนักแปลหลากหลายคนและยังเป็นรูปแบบที่น่าพอใจของทฤษฏีการแปลอีกด้วย ในแต่ละทฤษฏีการอนุมานของนักแปลเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นผ่านความผิดผลาดอย่างมากมายโดยรอบของวัฏจักร นักแปลแต่ละคนจะพัฒนาทฤษฏีที่สอดคล้องกันของการแปลในที่สุดแม้ว่าพวกเขาจะเชื่อมโยงมันได่ไม่ค่อยดีนัก เพราะว่าชนิดของทฤษฏีที่ดีนี้เป็นผลมาจากการอนุมานของคนถึงปัญหาและการจำแนกปัญหานั่นเอง ณ ลำดับที่สู.ขึ้นไป การทำงานของแนวความคิดจะให้ความสม่ำเสมอเกี่ยวกับงานจัดการ ทั้งหมด การพิมพ์ และ วัฒนธรรม ดังรูปแบบภาษาที่แตกต่างกันของการวิเคราะห์เนื้อหา(บทที่ 8) แนวทางของสังคม (บทที่ 9) ระบบการวิเคราะห์วัฒนธรรม (บทที่ 10) และนี่คือรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาการแปล

  15. การแปลที่เราทุกคนต้องการที่จะพัฒนาอยู่ตลอดแม้ว่ามันก็ไม่ได้ถูกทำนั้นมีอุปสรรคมากมายในการดำเนินการไม่ว่าจะจากความจำที่ไม่ดีไปจนถึงการไม่สามารถแปลคำหรือวลีได้ แต่อย่างไรก็ตามเราก็สามารถข้ามพ้นปัญหานั้นมาได้ ด้วยการหันไปใช้ทางอื่น หันไปใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน และนี่ก็อาจเป็นวิธีที่เราเรียกว่าการเดินทวนเข็มนาฬิกาย้อนไปตามวัฏจักรนั้นเอง การล้มเหลวอย่างกระทันหนของแนวความคิด โดยอาจจะเกิดจากการที่มีบางสิ่งเข้ามาแทนที่ความคิดเดิมเป็นเหตุให้คุณไม่สามารถแก้ไขด้วยความรู้ที่มีอยู่ได้ (บทที่ 11) ในตัวอย่างมากมายที่ผ่านมาการดำเนินการของแนวคิดจะถูกหยุดอย่างอัติโนมัติด้วยความสับสน และในกรณีอื่นๆ อันได้แก่ การที่คุณทำงานด้วยความยากลำบากที่เพิ่มขึ้นทีละนิดเกี่ยวกับทิศทางที่การแปลนั้นพาไป จนในที่สุดคุณก็ไม่สามารถที่จะทนความตึงเครียดนั้นต่อไปได้อีก

  16. ทั้งหมดทั้งมวลของหนังสือเล่มนี้ถูกกำหนดให้เป็นไปตามวัฎจักรการหมุนตามเข็มาฬิกา ในบทที่ 5-10 เริ่มต้นด้วยการแปลปละการก้าวผ่านรูปแบบที่แตกต่างกันของปประสบการณ์ไปจนถึงแนวความคิดที่มีคุณค่า จากนั้นก็ทวนเข็มในบทที่ 11 การค้นพบขั้นตอนที่วิเคราะห์อย่างตั้งใจที่นักแปลใช้เมื่อการแปลตมหลักแนวคิดนั้นไม่ประสบผลสำเร็จ ในแต่ละปัญหาจะถูกทำให้เกี่ยวข้องกันระหว่างประสบการณืและอุปนิสัยเป็นต้น มาช่วยกันอภิปรายกันเถอะ ทฤษฏีของการแปลโดยมากแล้วมักจะถูกมองว่านักแปลนั้นทำงานอย่างตั้งใจใส่ใจและกะตือรือร้น โดยคาดเดาเกี่ยวกับธรรมชาติและที่มาของแนวความคิดที่ต่างกัน ทฤษฏีในคติเดิมๆของตัวนักทฤษฏีเองเป็นแนวทางปฏิบัติที่ตะหนักได้จริงหรือ แล้ว บทนี้ได้นำเสอนแนวคิดที่แท้จริงเกี่ยวกับลักษณะไม่ดีของนักแปลจริงหรือ บทที่ 4 หน้า 93-96 โดย นายอนิรุธต์ มีชัย เลขที่ 51501030065-2 อ.ส 3-1

  17. A-E 3-1 Mr. AnirutMeechai No. 51501030065-2 Mr. SorasitPankum No. 51501030063-7 Ms. SoawalukPongsakkajorn No.51501030060-3 Ms. NusaraPiew-on No.51501030046-2

More Related