1 / 30

ระบบ GFMIS

ภาพรวมระบบจัดซื้อจัดจ้าง ( PO). สรุปการบันทึกผ่าน GFMIS Terminal. ระบบ GFMIS. ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์. ภาพรวมการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ผ่าน GFMIS Terminal. 2. ผู้ขาย. 3. ฝ่ายพัสดุ. 1. ฝ่ายพัสดุ. เมื่อครบกำหนด ส่งมอบ

dotty
Download Presentation

ระบบ GFMIS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาพรวมระบบจัดซื้อจัดจ้าง (PO) สรุปการบันทึกผ่าน GFMIS Terminal ระบบ GFMIS ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์

  2. ภาพรวมการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้างภาพรวมการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ผ่าน GFMIS Terminal 2. ผู้ขาย 3. ฝ่ายพัสดุ 1. ฝ่ายพัสดุ เมื่อครบกำหนดส่งมอบ ผู้ขายจัดส่งรายการสั่งซื้อ/จ้าง ให้ส่วนราชการ • - คณะกรรมการตรวจรับตามรายการ สั่งซื้อ/จ้าง • บันทึกรับพัสดุอ้างเลขที่ PO ของ GFMIS • ผ่าน GFMIS Terminal (MIGO) • - บันทึกวันที่รับพัสดุเพิ่มเติมในทะเบียนคุม เพื่อสะดวกในการติดตามสถานะ • - สิ้นวัน ตรวจสอบรายงานรับพัสดุ(MB51)เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการรับพัสดุจากผู้ขาย • คัดเลือกผู้ขาย ตามระเบียบวิธีการปกติ • ตรวจสอบข้อมูลผู้ขาย ถ้าไม่มีในระบบ • ต้องดำเนินการสร้างข้อมูลหลักผู้ขายตามกระบวนการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย • บันทึกรายการสั่งซื้อ/จ้าง ผ่าน GFMISTerminal • ตรวจสอบรายการที่บันทึก • พิมพ์ใบสั่งซื้อ/จ้าง ส่งให้ผู้ขาย • บันทึกรายการสั่งซื้อ/จ้างลงทะเบียนคุมเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและค้นหาเอกสาร • สิ้นวันตรวจสอบรายงานสถานะ PO(ZMM_ME2N)กับทะเบียนคุมเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการสั่งซื้อ/จ้างที่บันทึกเข้า GFMIS 4. หน่วยงานตั้งเบิก - รวบรวมและตรวจสอบเอกสารสำหรับการตั้งเบิก ส่งให้หน่วยงานตั้งเบิก บันทึกตั้งเบิกผ่านเครื่อง GFMIS Terminal โดยอ้างเลขที่ PO เพื่อจ่ายเงินให้กับผู้ขายโดยตรง พร้อมเลขที่ POที่ได้จากระบบ GFMIS

  3. การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) • บันทึกผ่าน GFMIS Terminal • บันทึกเป็นวัสดุคงคลังที่เก็บเฉพาะมูลค่า (I) • บันทึกเป็นสินทรัพย์ (A) • บันทึกเป็นสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง/ดำเนินงานหรืองานระหว่างทำ (W) • บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (K) • บันทึกเป็นพักสินทรัพย์ (S)

  4. การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 1. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นวัสดุคงคลังเก็บเฉพาะมูลค่า (I) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ร่วมกัน • หลายๆ หน่วยงานและต้องมีการจัดเก็บไว้เพื่อให้หน่วยงานต่างๆมาเบิกใช้งาน • สาเหตุที่ต้องจัดเก็บเช่น • เป็นวัสดุที่ต้องสั่งซื้อในปริมาณมากเนื่องจากต้องสั่งผลิต • 2. เป็นวัสดุที่ใช้ระยะเวลาในการจัดหานานเนื่องจากต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ • ตัวอย่างเช่น • ผ้าตัดเครื่องแบบสีกากี, เสื้อกันฝนแบบสะท้อนแสง, วัคซีนป้องกันโรค เป็นต้น

  5. 12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - I 13.ปริมาณสั่ง 14.OUn - หน่วยสั่งซื้อ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header รายละเอียดรายการ ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18.เลขที่บัญชี G/L – 1105010105 วัสดุคงคลัง 19.ศูนย์ต้นทุน 20.รหัสงบประมาณ 21.แหล่งของเงิน 22.GPSC 23.กิจกรรมหลัก การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน เงื่อนไข 25.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT Text 24.ข้อความในรายการ สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อเป็นวัสดุคงคลัง 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร

  6. กระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อเป็นวัสดุคงคลังกระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อเป็นวัสดุคงคลัง • เมื่อมีการเบิกจ่ายวัสดุออกจากบัญชีวัสดุคงคลังให้ดำเนินการ ดังนี้ • สรุปมูลค่าของการเบิกวัสดุคงคลัง แยกตามกลุ่มพัสดุของรหัส GPSC • ส่งรายละเอียดให้ฝ่ายบัญชี ทำการปรับปรุงบัญชีวัสดุคงคลังให้ถูกต้อง • Note: ข้อมูลที่ฝ่ายพัสดุมีการเบิกของที่เป็นวัสดุคงคลัง ต้องแจ้งให้ฝ่ายบัญชีทราบ • พร้อมมูลค่าของกลุ่มพัสดุที่มีการเบิก มีดังนี้ • ศูนย์ต้นทุนผู้เบิก • กิจกรรมหลักของการเบิกใช้ • แหล่งของเงิน • รหัสงบประมาณ

  7. การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 2. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นสินทรัพย์ (A) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อสินทรัพย์ที่มีมูลค่าตาม • หลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป • (เท่ากับหรือมากกว่า 5,000 บาท)ตัวอย่างเช่น • ครุภัณฑ์สำนักงาน, ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง, ครุภัณฑ์ • ไฟฟ้าและวิทยุ, ครุภัณฑ์การศึกษา, ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

  8. 12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - A 13.ปริมาณสั่ง - 1 14.OUn – หน่วยสั่งซื้อ – ตรงกับข้อมูลหลักสินทรัพย์ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18. GPSC 19.เลขที่สินทรัพย์ และ สินทรัพย์ย่อย รายละเอียดรายการ การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน เงื่อนไข 21.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT Text 20.ข้อความในรายการ สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อสินทรัพย์ 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร Note: PO 1 บรรทัดรายการ ระบุ 1 เลขที่สินทรัพย์

  9. การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 3. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง/ดำเนินงานหรืองานระหว่างทำ (W) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อ/จ้างดำเนินการงานโครงการ • ที่มีการส่งมอบงานเป็นงวด และเมื่อเสร็จสิ้นโครงการมีรายการสินทรัพย์เกิดขึ้น • หรืองานจัดซื้อสินทรัพย์ที่มีการชำระเงินตั้งแต่ 2 งวดขึ้นไปตัวอย่างเช่น • สั่งจ้างเหมาทำระบบคอมพิวเตอร์ที่ส่งมอบงานเป็นงวด และมีรายการ • สินทรัพย์เกิดขึ้นหลังเสร็จสิ้นงาน เช่นครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์, ครุภัณฑ์สำนักงาน • เกิดขึ้นภายหลังเสร็จสิ้นงาน • สั่งจ้างดำเนินการก่อสร้างอาคาร สิ่งปลูกสร้าง ซึ่งส่งมอบงานเป็นงวดและ • เมื่องานเสร็จสิ้นมีรายการสินทรัพย์เกิดขึ้น

  10. 12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - W 13.ปริมาณสั่ง 14.OUn – หน่วยสั่งซื้อ – ตรงกับข้อมูลหลักสินทรัพย์ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18. GPSC 19.เลขที่สินทรัพย์งานระหว่างทำ และ สินทรัพย์ย่อย รายละเอียดรายการ การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน เงื่อนไข 21.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT Text 20.ข้อความในรายการ สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อ-จ้างเป็นสินทรัพย์งานระหว่างทำ 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร Note: PO 1 บรรทัดรายการ ระบุ 1 เลขที่สินทรัพย์

  11. กระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อ/จ้างเป็นสินทรัพย์งานระหว่างทำกระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อ/จ้างเป็นสินทรัพย์งานระหว่างทำ • เมื่อเสร็จสิ้นงานและผ่านการตรวจรับงวดสุดท้ายเรียบร้อยแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้ • แยกรายการสินทรัพย์ออกจากสินทรัพย์งานระหว่างทำ • สร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ ตามรายการสินทรัพย์ที่แยกออกมา โดย • สินทรัพย์ 1 ชิ้น ต่อ 1 เลขที่สินทรัพย์ • Note :ข้อมูล แหล่งของเงิน, รหัสงบประมาณ, กิจกรรมหลัก ให้ใช้ของปีเดียวกับ • ที่ตรวจรับงวดสุดท้าย • 3. ส่งรายละเอียดรายการสินทรัพย์ พร้อมเลขที่สินทรัพย์ของแต่ละรายการ • เพื่อโอนสินทรัพย์งานระหว่างทำ เป็นสินทรัพย์รายตัว

  12. การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 4. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (K) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อวัสดุสิ้นเปลือง หรือจ้าง/ • เหมาบริการ ที่ลงเป็นค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน(รหัสตามศูนย์ต้นทุนที่กำหนด) • และไม่มีสินทรัพย์ถาวรเกิดขึ้นตามรายการที่สั่งซื้อ/จ้างตัวอย่างเช่น • สั่งซื้อวัสดุสำนักงาน, วัสดุงานครัว, วัสดุอื่นๆ • จ้างซ่อมแซมบำรุงรักษา, จ้างที่ปรึกษา

  13. 12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - K 13.ปริมาณสั่ง 14.OUn - หน่วยสั่งซื้อ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18.เลขที่บัญชี G/L 19.ศูนย์ต้นทุน 20.รหัสงบประมาณ 21.แหล่งของเงิน 22.GPSC 23.กิจกรรมหลัก รายละเอียดรายการ การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน Text 24.ข้อความในรายการ เงื่อนไข 25.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อเป็นค่าใช้จ่าย 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร

  14. การเลือกใช้บัญชีแยกประเภทการเลือกใช้บัญชีแยกประเภท สำหรับบันทึกใบสั่งซื้อ/จ้าง ระบบ GFMIS ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์

  15. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  K เลขที่บัญชีแยกประเภทสำหรับค่าใช้จ่ายขึ้นต้นด้วย 5 การเลือกบัญชีโดยดูจากคำอธิบายบัญชี 5104xxxxxx - บัญชีค่าวัสดุ ค่าใช้สอย และค่าสาธารณูปโภค เช่น

  16. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  K 5106xxxxxx - บัญชีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ

  17. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีวัสดุคงคลัง การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  I เลขที่บัญชีแยกประเภทสำหรับค่าใช้จ่ายขึ้นต้นด้วย1 การเลือกบัญชีโดยดูจากคำอธิบายบัญชี 1105xxxxxx – บัญชีสินค้าและวัสดุคงเหลือ เช่น

  18. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์และงานระหว่างทำ การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  A, W (สำหรับการบันทึกรายการผ่าน GFMIS Terminalเท่านั้น) ไม่ต้องระบุเลขที่บัญชีแยกประเภท ให้ระบุรหัสสินทรัพย์หรือ งานระหว่างทำ  ระบบจะระบุค่าบัญชีแยกประเภทให้อัตโนมัติโดยนำค่ามาจากข้อมูลหลักสินทรัพย์หรืองานระหว่างทำ

  19. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์ การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  S 1204xxxxxx – บัญชีที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ เช่น

  20. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์ การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  S 1205xxxxxx – บัญชีอาคาร เช่น

  21. การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์ การกำหนดบัญชี (Account Assignment)  S 1206xxxxxx – บัญชีครุภัณฑ์ เช่น

  22. การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal วันที่เอกสาร ระบุวันที่ตั้งแต่ 01.10.2006 เป็นต้นไป

  23. การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal ระบุแหล่งของเงิน 50XXXXX

  24. การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal ระบุรหัสงบประมาณตามโครงสร้างรหัสงบประมาณปี 2550

  25. การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal ระบุกิจกรรมหลักตามโครงสร้างปี 2550

  26. สรุปการเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550

  27. การจัดซื้อ-จัดจ้าง ใช้เงินนอกงบประมาณที่อยู่ในบัญชีเงินฝากคลัง บันทึกผ่าน GFMIS Terminal การบันทึกที่แตกต่างจากเงินในงบประมาณ 1. แหล่งของเงิน – จะเป็น YY2XXXX โดยที่ YY = ปีงบประมาณ เช่นงบประมาณปี 2550  YY=50 เช่น 5026000 – เงินฝากคลัง 2. รหัสงบประมาณ – รหัส 5 หลักแรกของรหัสงบประมาณของหน่วยงาน เช่น12005 3. กิจกรรมหลัก – ระบบจะกำหนดให้โดยอัตโนมัติเป็น PXXXX XXXX = รหัสพื้นที่ (จังหวัด) เช่นP1000 = กรุงเทพฯ P1400 = อยุธยา 4. บัญชีเงินฝาก– รหัสเงินฝากคลังที่ฝากไว้ในบัญชีเงินคงคลังที่ 1 ที่กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังจังหวัด AAXXX = รหัสเงินฝากคลัง เช่น 00XXX ฝากไว้ที่กรมบัญชีกลาง 10XXX ฝากไว้ที่สำนักงานคลังจังหวัด 20XXX ฝากไว้ที่สำนักงานคลังจังหวัด ณ อำเภอ 5. เจ้าของเงินฝาก– ระบบจะดึงค่ามาให้อัตโนมัติเมื่อระบุบัญชีเงินฝาก

  28. การจัดซื้อ-จัดจ้าง ใช้เงินนอกงบประมาณนอกบัญชีเงินฝากคลัง (เงินฝากธนาคาร) บันทึกผ่าน GFMIS Terminal • การบันทึกที่แตกต่างจากเงินในงบประมาณ • แหล่งของเงิน – จะเป็น YY3XXXX • โดยที่ YY = ปีงบประมาณ เช่นงบประมาณปี 2550  YY=50 • เช่น 5036000 – เงินอุดหนุนนอก • 2. รหัสงบประมาณ – รหัส 5 หลักแรกของรหัสงบประมาณของหน่วยงานเช่น12005 • 3. กิจกรรมหลัก – ระบบจะกำหนดให้โดยอัตโนมัติเป็น PXXXX • XXXX = รหัสพื้นที่ (จังหวัด)เช่นP1000 = กรุงเทพฯ • 4. บัญชีย่อย– ระบุในกรณีเป็นเงินอุดหนุนหรือเงินกู้ • 5. เจ้าของบ/ช ย่อย– ระบบจะดึงค่ามาให้อัตโนมัติเมื่อระบุบัญชีย่อย

  29. การจัดซื้อ-จัดจ้าง ใช้งบกลางของสำนักงบประมาณ บันทึกผ่าน GFMIS Terminal • การบันทึกที่แตกต่างจากเงินในงบประมาณ • แหล่งของเงิน – จะเป็น YY10XXX • โดยที่ YY = ปีงบประมาณ เช่นงบประมาณปี 2550  YY=50 • 1 = เงินงบประมาณ • 0 = งบกลาง • เช่น5010500 – งบกลาง-งบรายจ่ายอื่น • 2. รหัสงบประมาณ –รหัสงบประมาณของของสำนักงบประมาณที่จัดสรรมาให้ใช้จัดซื้อ-จ้างรายการนั้น • 3. กิจกรรมหลัก – ระบบจะกำหนดรหัสของสำนักงบประมาณให้โดยอัตโนมัติ

  30. PO

More Related