1 / 11

ผักกาด ดองจ๊า

ผักกาด ดองจ๊า. คณะผู้จัดทำ นางสาว กรภัทร ประยูรมณีรัตน์ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๑๔ นางสาว ปาลิตา เพ็ชรศิริ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๔ นางสาว สรัญญา เกมะยุรา ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๕ โรงเรียน ดัดดรุณี. ส่วนประกอบ 1.ผักกาดเขียว 2.เกลือ 1/2 ของถ้วย 3.ข้าวสาร 1/2 ของถัวย

dore
Download Presentation

ผักกาด ดองจ๊า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผักกาดดองจ๊า

  2. คณะผู้จัดทำ นางสาว กรภัทร ประยูรมณีรัตน์ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๑๔ นางสาว ปาลิตา เพ็ชรศิริ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๔ นางสาว สรัญญา เกมะยุรา ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๕โรงเรียน ดัดดรุณี

  3. ส่วนประกอบ1.ผักกาดเขียวส่วนประกอบ1.ผักกาดเขียว 2.เกลือ 1/2 ของถ้วย 3.ข้าวสาร 1/2 ของถัวย 4.น้ำเปล่าสำหรับต้ม อุปกรณ์ 1.ภาชนะสำหรับดอง 2.หม้อต้มน้ำ 3.ตะกร้าแบน

  4. กรรมวิธีการทำ • 1. ล้างผักให้สะอาด แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้ำก่อน มีแดดก็ตากแดดไว้ ๑ วัน หรือผึ่งลมเอาก็ได้ให้ผักสลด • 2. หลังตากผักกาดจนสลดแล้วก็เตรียมต้มน้ำเดือด ใส่ข้าวสารต้มไฟกลางจนข้าวเปื่อยใส ราว 30 นาที

  5. 3.พอเดือดยกลงตั้งไว้พออุ่น • 4.ม้วนผักกาดเป็นก้อนกลมๆแล้วใส่ไว้ในภาชนะสำหรับดองพร้อมกับโรยเกลือ • 5. เท น้ำข้าวที่ตั้งไว้จนเย็นใส่ลงไปจนพอท่วมผัก

  6. 6.กดให้ผักจมน้ำแล้วนำฝาภาชนะมาปิด6.กดให้ผักจมน้ำแล้วนำฝาภาชนะมาปิด 7.รอจนครบ 15 วันเป็นต้นไป จึงค่อยนำออกมาปรุงอาหาร นู๋ผักกาดเองค่ะ

  7. ***มาดูข้อมูลกันนิด*** ผักกาดเขียวปลี หรือ ผักโสภณ ชื่อภาษาอังกฤษว่า  mustard green  เป็นผักในวงศ์ผักกาดกะหล่ำ (crucifer) เช่นเดียวกับผักกาดขาว ผักกาดใบและผักกวางตุ้ง ผักกาดเขียวปลี มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า brassica var. rugosaชื่อสามัญภาษาอังกฤษเรียก leaf mustard หรือ Chinese mustard  green บางทีเรียก mustard  green เฉยๆ ในภาษาพูด

  8. ***สำคัญนะ*** • ในกระบวนการดองที่ต้องมี การเปลี่ยนแปลงน้ำตาลในผักให้เป็นกรดแลคติกจะเป็นแบคทีเรียที่อยู่ใน family Lactobacteriaceaeซึ่งใน family นี้จะมีอยู่ 5 genus ได้แก่ • Streptococcus • Pediococcus • Diplococcus • Leuconostoc • Lactobacillus

  9. แบคทีเรียเหล่านี้เป็นแกรมบวก สร้างสปอร์ไม่ได้ ต้องการวิตามินบีรวมและกรดอะมิโนในการเจริญ ไม่สามารถเจริญได้ในสภาวะที่มีปริมาณกรดอะซิติกเข้มข้นเกินกว่า 3 - 6 % และหากต้องการให้แบคทีเรียในกลุ่มนี้ทำให้กระบวนการหมักได้รวดเร็วขึ้น สามารถทำได้โดยการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบ สามารถแบ่งแบคทีเรียกลุ่มนี้ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. Homofermentativeเป็น กลุ่มที่ใช้น้ำตาล 85 - 95 % ในการผลิต กรดแลคติกเพียงอย่างเดียว ส่วนที่เหลือจะนำไปสร้างพลังงาน และสารประกอบที่ระเหยได้ (volatile compound) ตัวอย่างแบคทีเรียในกลุ่มนี้ได้แก่ Streptococcus faecalisPediococcuscerevisiae

  10. 2.Hermentative เป็นกลุ่มที่ใช้น้ำตาลประมาณ 50 % ในการผลิตกรดแลคติก อีก 25 % ใช้ในการผลิตกรดอะซิติกและเอธานอล ส่วนที่เหลือจะใช้ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวอย่างแบคทีเรียในกลุ่มนี้ได้แก่Leuconostocmesenteroides , Leuconostocfermenti

  11. ขอบคุณค่ะ

More Related