1 / 33

“ AEC ยุคทองขนส่งไทย สร้างกำไรสู่เวทีโลก ”

“ AEC ยุคทองขนส่งไทย สร้างกำไรสู่เวทีโลก ”. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ เลขาธิการสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 20 มิถุนาย 2556 ณ ห้อง Infinity ชั้น 1 โรงแรมพูลแมน บางกอก คิง พาวเวอร์ วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556. www.tanitsorat.com. AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY

dora
Download Presentation

“ AEC ยุคทองขนส่งไทย สร้างกำไรสู่เวทีโลก ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “AEC ยุคทองขนส่งไทย สร้างกำไรสู่เวทีโลก ” โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 20 มิถุนาย 2556 ณ ห้อง Infinity ชั้น 1 โรงแรมพูลแมน บางกอก คิง พาวเวอร์ วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2556 www.tanitsorat.com

  2. AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY จุดเปลี่ยนประเทศไทยโอกาสและความท้าทาย neighbor Investment Free Trade & Investment Across the Asean countries Co-Tourism Free Trade Cross border Trade Logistics Free Flow??? Finance Free Free Flow of Business & Investment Immigrant Labour Borderless Economy Skill Labour Free www.tanitsorat.com

  3. HOW TO CONNECT SINGLE MARKET ?? East India REAL ECONOMIC CONNECTIVITY South China TRADE-SERVICE-INVESMENT ACROSS AEC BORDER LOCAL BUSINESS CONNECT TO INTERNATIONAL REGIONAL LOGISTICS CONNECTIVITY www.tanitsorat.com

  4. AEC CONNECTIVITY: • การเชื่อมโยงกับเส้นทางในภูมิภาค • การเชื่อมโยงการค้า • การเชื่อมโยงการลงทุน • การเชื่อมโยงภาคบริการ • การเชื่อมโยงด้านการท่องเที่ยว • การเชื่อมโยงด้านโทรคมมนาคม • การเชื่อมโยงด้านพลังงาน • การเชื่อมโยงValue Chain www.tanitsorat.com

  5. What is…AEC Connectivity ?? Single Market & Production Base Connectivity การเชื่อมโยงตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน People to People Connectivity การเชื่อมโยงประชาชนและการท่องเที่ยวร่วมกัน Infrastructure Connectivity การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งของภูมิภาค ทั้งมีท่าเรือ สนามบิน ถนน ทางรถไฟ สะพาน Telecommunication การเชื่อมโยงการสื่อสารทั้งด้านข้อมูลและมัลติมีเดีย Regional Cross Border Transport Connectivity การเชื่อมโยงขนส่งข้ามแดนในภูมิภาค Law & Regulation Connectivity การเชื่อมโยงกฎระเบียบของแต่ละประเทศสมาชิกซึ่งแตกต่างกัน Transport & Shift Mode การเชื่อมโยงระบบการเปลี่ยนโหมดการขนส่งต้นทุนต่ำข้ามแดนระหว่างประเทศ www.tanitsorat.com

  6. AEC Single Production Baseการเป็นฐานการผลิตร่วมกันต้องอาศัยการเชื่อมโยงด้านโลจิสติกส์ การตื่นตัวย้ายฐานการผลิตของไทย ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคการค้า-บริการของไทย เริ่มที่จะมีแนวคิดการย้ายฐานการผลิตไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านที่มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าไทย นโยบายค่าจ้างสูงและการขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง โดยตัวเลขการว่างงานปี 2555 อัตราว่างงานอยู่เพียงร้อยละ 0.6 – 0.7 กอปรทั้งนโยบายค่าจ้าง 300 บาททั่วประเทศ ทำให้บางอุตสาหกรรมต้องย้ายฐานการผลิต การขาดแหล่งวัตถุและทรัพยากรธรรมชาติ จำเป็นที่จะต้องแสวงหาแหล่งผลิตใหม่ซึ่งมีทรัพยากรที่พอเพียงและมีราคาที่ต่ำกว่าการผลิตในประเทศ ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตในประเทศ จะเป็นปัจจัยที่ภาคอุตสาหกรรมจะต้องมีการย้ายฐานการผลิต เช่นด้าน ผังเมือง,ชุมชนการตื่นตัวด้านสิ่งแวดล้อม, ข้อจำกัดของกฎหมายกฎระเบียบของรัฐและการเสียสิทธิ์ด้านGSP รวมทั้ง NTB และ NGO www.tanitsorat.com

  7. การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ส่งเสริมต่อการเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค Regional LogisticsHub ไทยเป็นศูนย์กลางของระเบียงเศรษฐกิจ GMS 1. North-South Economic Corridor (NSEC) 2. East-West Economic Corridor (EWEC) 3. South Economic Corridor (SEC) www.tanitsorat.com

  8. CrossBorder Transport Key Achievement การการข่นส่งข้ามแดนหัวใจแห่งความสำเร็จสู่ AEC www.tanitsorat.com ที่มา: กระทรวงคมนาคม

  9. ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ตัวเลขทางเศรษฐกิจ GDP : 82.0 พันล้านเหรียญสหรัฐ มีการเติบโตร้อยละ 5.3 มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 855 เหรียญสหรัฐ การค้าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555 นำเข้า 110,496ล้านบาท ส่งออก 69,976 ล้านบาท ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ หรือ พม่า เป็นประเทศเพื่อนบ้าน อยู่ภายใต้โครงข่ายเศรษฐกิจ “East-West Economic Corridor” มีเนื้อที่ 676,578 ตร.กม. ประชากรประมาณ 60 ล้านคน www.tanitsorat.com

  10. ด่านชายแดนซึ่งมีศักยภาพ ไทย-เมียนม่าร์ ด่านแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-ตองจี-เนปิดอร์ (จ.เชียงราย) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 115.81 ล้านบาท ส่งออก 9,443.06 ล้านบาท ด่านแม่สอด-เมียวดี-ร่างกุ้ง (จ.ตาก) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,410.58 ล้านบาท ส่งออก 37,966.31 ล้านบาท ด่านพุน้ำร้อน-ทิกกี้-ทวาย-เยห์ (จ.กาญจนบุรี) ด่านสิงขร-มะริด (จ.ประจวบคีรีขันธ์) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 27.34 ล้านบาท ส่งออก 47.36 ล้านบาท ท่าเรือระนอง -เกาะสอง (จ.ระนอง) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,801.02 ล้านบาท ส่งออก 18,195.41ล้านบาท ท่าเรือทวาย

  11. การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเมียนม่าร์การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเมียนม่าร์ ถนนสายหลักของพม่า 1. ถนนหมายเลข 85 เมียวดี-ย่างกุ้ง (EAST) แม่สอด-เมียวดี-กอกะเร็ก-ผาอัน-เมาะลำไย-ตะโก่ง-พะโค-ย่างกุ้ง 2. ถนนหมายเลข 1 ย่างกุ้ง-ชายแดนจีน (WEST) ย่างกุ้ง – พะยายี – ตองอู – เยอมานา – มิติลา – มัณฑะเลย์ (อมรปุระ) ไปถึงถนนหมายเลข 3 – ลาโช – มูเซ่ จนไปถึงเมืองรุ่ยลี่ (ชายแดนประเทศจีน) ไปเชื่อมกับเส้นทางในประเทศจีนที่มณฑลยูนนาน 2. ถนนหมายเลข 2ย่างกุ้ง-ชายแดนอินเดีย (WEST)จากย่างกุ้ง – พะโค – แปร – พุกาม – มาเกว – กะเลเมียง – ตามู – ชายแดนประเทศอินดีย – เมืองมณีปุระ 3. ทางหลวงพิเศษ ย่างกุ้ง-เนย์ปิดอว์ สำหรับเส้นทางเชื่อมโยงกับนครเนย์ปิดอว์ จากกรุงย่างกุ้ง ใช้เส้นทางพิเศษคล้ายมอเตอร์เวย์ของไทย เป็นทางหลวงพิเศษขนาด 8 ช่องจราจร จากย่างกุ้งถึงนครเนย์ปิดอว์ ระยะทาง 323.3 กิโลเมตร และระยะทางจากย่างกุ้งถึงเมืองมัณฑะเลย์ 563 กิโลเมตร (แต่ช่วงเลยจากนครเนย์ปิดอว์ ถนนจะแคบ) 4. เส้นทางหลวงหมายเลข 8 ย่างกุ้ง-เมืองเยห์ (South) จากย่างกุ้งแยกจากเส้นทางหมายเลข 1 ที่เลยจากเมืองพะโค (หงสาวดี) ประมาณ 60-70 กิโลเมตร ผ่านเมืองสำคัญเข้าเมืองตะโถว เมืองเมาะลำไย เมืองเยห์ เมืองทวาย เมืองมะริด และเมืองเกาะสอง (บางช่วงใช้งานได้เฉพาะในหน้าแล้ง) 5. เส้นทางพุน้ำร้อน(กาญจนบุรี) – ทวาย ระยะทาง 145 กม.อยู่ระหว่างก่อสร้างเส้นทางใช้ได้บางช่วงในฤดูแล้ง 6. เส้นทางด่านสิงขร (ประจวบคีรีขันธ์) –มะริด ระยะทางประมาณ 130 กม. www.tanitsorat.com

  12. โครงสร้างท่าเรือในประเทศพม่าโครงสร้างท่าเรือในประเทศพม่า ท่าเรือ Asia World Port Terminal และท่าเรือทิลาวา บนแม่น้ำย่างกุ้ง น้ำลึก 9.9 เมตร www.tanitsorat.com

  13. สนามบินภายในประเทศของพม่าสนามบินภายในประเทศของพม่า สนามบินนานาชาติที่นครย่างกุ้ง สายการบิน Direct Flight ให้บริการเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาค ธนาคารต่างชาติให้บริการในพม่า สนามบินทวาย www.tanitsorat.com

  14. โครงการก่อสร้างท่าเรือทวายในประเทศพม่า รัฐบาลไทย-พม่า ลงทุนร้อยละ 50:50 www.tanitsorat.com

  15. ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ สปป.ลาว อยู่ภายใต้โครงข่าย “East-West Economic Corridor” มีเนื้อที่ 236,880 ตร.กม. มีประชากร 6,835,345 คน ตัวเลขทางเศรษฐกิจ GDP : 8,297.66 ล้านเหรียญสหรัฐ มีการเติบโตร้อยละ 8-10 มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 2,866 เหรียญสหรัฐ การค้าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555 นำเข้า 22,957.14 ล้านบาท ส่งออก 109,059.22 ล้านบาท www.tanitsorat.com

  16. โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย – สปป.ลาว –เวียดนาม - จีนตอนใต้ ด่านนครพนม-คำม่วน-วิงข์ (เวียดนาม) รถไฟ ไทย-ลาว หนองคาย-ท่านาแล้ง ด่านช่องเม็ก – ปากเซ (สปป.ลาว) – สะหวายเรียง(กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,628.72ล้านบาท ส่งออก 9,396.45 ล้านบาท ด่านศุลกากรหนองคาย-เวียงจันทน์มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1,998.73 ล้านบาท ส่งออก 61,349.80 ล้านบาท ด่านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ด่งฮา(เวียดนาม) - ลังซอน- ผิวเซียง-หนานหนิง(จีน)มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 16,670.24 ล้านบาท ส่งออก 12,006.95 ล้านบาท ด่านเชียงของ – คุณหมิง (R3E) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 540.08 ล้านบาท ส่งออก 4,265.94 ล้านบาท เส้นทาง R12 – ท่าเรือวิงช์ (เวียดนาม)

  17. ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชาประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประเทศอยู่ภายใต้โครงข่ายเศรษฐกิจ “South Economic Corridor” มีพื้นที่ 181,035 ตร.กมประชากร 14,805,000 คน ตัวเลขทางเศรษฐกิจ GDP : 12,875.31 ล้านเหรียญสหรัฐ มีการเติบโตร้อยละ 6.9 มีรายได้ต่อประชากรต่อปี 931เหรียญสหรัฐ การค้าชายแดนกับประเทศไทยปี 2555 นำเข้า 7,167.55 ล้านบาท ส่งออก 74,921.52 ล้านบาท www.tanitsorat.com

  18. โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-กัมพูชาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต-ศรีโสภณ (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 3,143.17 ล้านบาท ส่งออก 44,976.38 ล้านบาท ด่านหาดเล็ก (ตราด)– เกาะกง (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 482.58 ล้านบาท ส่งออก 24,454.14 ล้านบาท ท่าเรือสีหนุวิวล์ www.tanitsorat.com

  19. โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-มาเลเซียโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย ด่านสะเดา จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า 165,815.88 ล้านบาท ส่งออก 144,236.46 ล้านบาท ด่านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า 165,815.88 ล้านบาท ส่งออก 42,675.08 ล้านบาท ท่าเรือปีนัง ประเทศมาเลเซีย ด่านประกอบ จ.สงขลา www.tanitsorat.com

  20. โอกาสประเทศไทยปี 2020โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่ยมโยงประเทศเพื่อนบ้าน งบลงทุน 2.0 ล้านล้านปี 2556 – 2563 ลงทุนระบบราง 82.92 % ลงทุนทางถนน 14.47 % ลงทุนทางน้ำ 1.49 % พัฒนาด่านชายแดน 0.61 % www.tanitsorat.com

  21. เป้าหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน งบลงทุน 2.0 ล้านล้านบาท (ปี 2556 – 2563) www.tanitsorat.com ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ลดลงจากปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า 2% (ปัจจุบัน 15.2%) สัดส่วนผู้เดินทางระหว่างจังหวัดโดยรถยนต์ส่วนตัว ลดลงจาก 59% เหลือ 40% ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟขนส่งสินค้า เพิ่มขึ้นจาก 39 กม. / ชม. เป็น 60 กม. / ชม. และขบวนรถไฟโดยสาร เพิ่มขึ้นจาก 60 กม. / ชม. เป็น 100 กม. / ชม. สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางรางเพิ่มขึ้นจาก 2.5% เป็น 5% สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางน้ำเพิ่มขึ้นจาก 15% เป็น 19% ลดความสูญเสียจากน้ำมันเชื้อเพลิง ไม่น้อยกว่า 100,000 ล้านบาท / ปี สัดส่วนการเดินทางรถไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจาก 5% เป็น 30% ปริมาณการขนส่งสินค้า เข้า-ออก ณ ด่านการค้าชายแดนสำคัญ เพิ่มขึ้น 5% ปริมาณผู้โดยสารทางรถไฟเพิ่มขึ้น จาก 45 ล้านคน-เที่ยว / ปี เป็น 75 ล้านคน-เที่ยว / ปี ลดระยะเวลาการเดินทางจาก กทม. ไปยังเมืองภูมิภาค ด้วยรถไฟความเร็วสูงในรัศมี 300 กม. รอบกรุงเทพมหานคร ในระยะเวลาไม่เกิน 90 นาที จากเดิมที่ใช้ระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 3 ชั่วโมง www.tanitsorat.com

  22. ระบบการขนส่งด้วยระบบรางทางคู่ทั่วประเทศ เชื่อมโยงชายแดนทั้ง 4 ภาค • ภาคเหนือ • เชียงของ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • หนองคาย • มุกดาหาร • นครพนม ภาคตะวันออก ภาคกลาง • ภาคใต้ • ปาดังเบซาร์ www.tanitsorat.com

  23. Thailand 2020 Logistics Service is Key Achievement Modal Shift Multimodal การเชื่อมโยงและเปลี่ยนโหมดขนส่งสินค้าซึ่งมีต้นทุนต่ำ Connectivity การเชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจจริงทั้นด้านการค้า-การลงทุน-บริการ ผู้ประกอบการให้บริการโลจิสติกส์ HRDการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการยกระดับองค์กรความรู้ท้องถิ่น Trade Facilitation & CBTAด้านการบริหารจัดการและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการขนส่งข้ามแดน

  24. การเตรียมพร้อมของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ (ไทย)ภายใต้ AEC CLEAR VISSION : วิสัยทัศน์ เห็นโอกาสและความท้าทายภายใต้ AEC SWOT ANALYSIS : วิเคราะห์ศักยภาพของธุรกิจ(จุดแข็งและจุดอ่อน) BUSINESS DIRECTION : กำหนดทิศทางธุรกิจให้ชัดเจนว่าจะไปทางไหน STRATEGYPLAN : มีแผนกลยุทธ์ในระยะกลางและระยะยาว Business & Network Development : การพัฒนาธุรกิจและเครือข่าย INTERNATIONAL COMPETTITIVENESS : สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ www.tanitsorat.com

  25. การปรับตัวของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ต้องมีแผนและ Business Plan www.tanitsorat.com

  26. ปัญหาศักยภาพของผู้ประกอบการบริการโลจิสติกส์ไทยบนบริบทของ AEC การบริหารจัดการไม่เป็นสากล ขาดบุคลากรที่มีความสามรถ ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็ก การบริหารแบบครอบครัว ทำให้มีข้อจำกัดในการให้บริการบริษัทข้ามชาติ ไม่สามารถให้บริการแบบครบวงจร (Integrated Logistics Service Provider) เชี่ยวชาญงานเฉพาะด้านและมีขีดจำกัดในการให้บริการ ส่วนใหญ่แยกการให้บริการเป็นแต่ละส่วนงานโลจิสติกส์ ขาดความสะดวกและยุ่งยากในการใช้บริการ ขาดเครือข่ายไม่สามารถให้บริการในลักษณะที่เป็น Door to Door Service เพราะขาดเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ Non-Asset Logistics Service เป็นผู้ให้บริการที่ไม่มีคลังสินค้า รถบรรทุก เครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการ ทำให้รับงานได้เฉพาะงานให้บริการพื้นฐาน เช่น งานชิปปิ้ง งานตัวแทนหรือนายหน้า งานเอกสาร เป็นต้น ต้นทุนต่อหน่วยสูงทำให้แข่งขันไม่ได้ เพราะขาดอำนาจต่อรอง และต้องไปว่าจ้าง Subcontract ขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนราคาถูก เพราะไม่มีหลักประกันและระบบบัญชีไม่น่าเชื่อถือ มีข้อจำกัดในการเข้าเป็นโซ่อุปทานกับคู่ค้า การพัฒนาขาดความเชื่อมโยงกันระหว่างภาคการผลิตกับภาคผู้ให้บริการโลจิสติกส์ การพัฒนาที่ผ่านมา ด้านผู้ให้บริการกับผู้ใช้บริการไม่มีการเชื่อมโยง การพัฒนาเป็นแบบคู่ขนาน ขาดการบูรณาการและขาดองค์กรกลางที่เข้มแข็ง สมาคมที่เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการโลจิสติกส์มีอยู่เป็นจำนวนมาก ต่างดำเนินธุรกรรมโดยไม่เชื่อมโยงกัน ขาดการพัฒนาและภาครัฐไม่เข้าใจ ตามตัวเลขของกระทรวงพาณิชย์ แจ้งว่ามีเกือบ 20,000 ราย ธุรกิจเหล่านี้แข่งขันไม่ได้ จำเป็นจะต้องมียุทธศาสตร์ มีเจ้าภาพอย่างแท้จริง www.tanitsorat.com

  27. Logistics Service Big Playerแบ่งตามศักยภาพการแข่งขัน www.tanitsorat.com

  28. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันและเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (1) • การส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน : Competitiveness • ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่เป็น SME การให้บริการโลจิสติกส์เพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น • ภายใต้การเปิด AEC หากจะให้สามารถแข่งขันได้ จำเป็นจะต้องมีการรวมกลุ่มกันให้บริการแบบ Integrated Logistics Service Provider เพื่อให้สามารถให้บริการโลจิสติกส์ได้แบบครบวงจร • สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้าง LSP Best Practice Model • ส่งเสริมให้มีการประกวดหรือให้รางวัลประกาศเกียรติคุณ ซึ่งจะทำให้เกิดมีการพัฒนาและก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขัน • การให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุนต้นทุนต่ำ www.tanitsorat.com

  29. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (2) 2. การยกระดับผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นคลัสเตอร์:Cluster Logistics Service • การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทยในการจับคู่ธุรกิจ ระหว่างผู้ประกอบการไทยด้วยกันเอง เพื่อทำให้สามารถรับงานได้ครบวงจร • สภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ภายใต้การขาดเอกภาพ รวมทั้งระดับการพัฒนาของแต่ละสมาคมที่แตกต่างกัน ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาในด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน • ในระยะยาวหากจะพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้เข้มแข็งจะต้องมีการยกระดับเป็นสภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ซึ่งจะต้องมีการออก พ.ร.บ.มารองรับ • การส่งเสริมให้ LSP เป็นส่วนหนึ่งในโซ่อุปทานของผู้ผลิต ภาคบริการโลจิสติกส์ไม่สามารถแยกการพัฒนาต่างหากออกจากการผลิตได้ www.tanitsorat.com

  30. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (3) 3. การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกของผู้ประกอบโลจิสติกส์ในการลงทุนในต่างประเทศ: AEC Opportunity • ผู้ประกอบการไทยขาดกลยุทธ์ ขาดความเข้าใจและการไม่สามารถเข้าถึงโอกาสการเข้าสู่ AEC • ภายใต้การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หน่วยงานของรัฐ เช่น BOI กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตร กระทรวงคมนาคม ฯลฯ จึงควรร่วมมือกันด้วยการ ส่งเสริมผู้ประกอบการไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน • ส่งเสริมจับคู่ธุรกิจกับผู้ร่วมทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะในอาเซียน เพื่อให้สามารถเข้าถึงการเปิดเสรีด้านการลงทุนของ AEC ในปี พ.ศ.2558 www.tanitsorat.com

  31. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC (4) 4. การสร้างเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ :Supply Chain Network • ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงในโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ของกลุ่มประเทศอาเซียนให้มีความเข้มแข็ง • สนับสนุนให้มีการจัดงาน AEC Logistics Fair ในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ภาคบริการโลจิสติกส์ไทยสามารถออกไปเสนอบริการกับลูกค้าโดยตรงในกลุ่มประเทศอาเซียน • Business Matching การได้พบปะจับคู่ธุรกิจกับผู้ประกอบการในอาเซียน เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ www.tanitsorat.com

  32. AEC เหรียญสองด้าน • เป็นทั้งโอกาสและความท้าท้าย ขึ้นอยู่กับว่าการปรับตัวหรือรอโชคชะตา • เศรษฐกิจ (ใหม่) และชุมชนไร้พรมแดนของ AECจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ • แน่ใจแล้วหรือว่าได้มีการเตรียมพร้อมสู่ AEC ??

  33. END ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com www.tanitsorat.com

More Related