1 / 34

Communities of Practice 17 December 2004

Communities of Practice 17 December 2004. Communities of Practice. พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ WeLEARN Co., Ltd. Tel: 0-2294-4440 Fax: 0-2682-0023 poonlarp@welearngroup.com. หัวข้อการสัมมนา. แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับชุมชนแนวปฏิบัติ การดูแลชุมชนแนวปฏิบัติให้มีศักยภาพสูงสุด

Download Presentation

Communities of Practice 17 December 2004

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Communitiesof Practice17 December 2004 Communities of Practice พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ WeLEARN Co., Ltd. Tel: 0-2294-4440 Fax: 0-2682-0023 poonlarp@welearngroup.com

  2. หัวข้อการสัมมนา • แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับชุมชนแนวปฏิบัติ • การดูแลชุมชนแนวปฏิบัติให้มีศักยภาพสูงสุด • กระบวนการพัฒนาชุมชนแนวปฏิบัติ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้

  3. การปรับปรุงคุณภาพบริการการปรับปรุงคุณภาพบริการ KM Identify problems บ่งชี้ปัญหา Analyze root causes วิเคราะห์รากเหง้า ของปัญหา Standardize solutions ทำให้เป็นมาตรฐาน Solve problems คิดหาวิธีแก้ปัญหา

  4. คลื่น KM ลูกที่หนึ่ง เทคโนโลยี จัดเก็บ เรียนรู้ ผู้ไม่รู้ ผู้รู้ ฐานข้อมูล เปิดดู โมเดลจัดการความรู้ยุคแรก จัดเก็บ-เปิดดู-เรียนรู้

  5. คลื่น KM ลูกที่สอง สร้างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ เทคโนโลยี หวงความรู้ จัดเก็บ เรียนรู้ ไม่ใฝ่รู้ ผู้ไม่รู้ ผู้รู้ ฐานข้อมูล เปิดดู ขี้เกียจ

  6. พนักงานไม่สนใจ KM เพราะ • เรื่องที่แลกเปลี่ยนไม่น่าสนใจสำหรับเขา • คนที่มาถามไม่สนิท (รัก) กับเขา • ไม่ได้ให้คุณค่าอะไรกับเขาเลย

  7. คลื่น KM ลูกที่สาม • ความรู้จัดการโดยผู้ที่ใช้ความรู้ • ความรู้เป็นพลวัต (เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา) • ความรู้พัฒนาในระดับปัจเจกบุคคลและระดับสังคม • ความรู้มีทั้ง Explicit และ Tacit

  8. คุณลักษณะของ ชุมชนแนวปฏิบัติ (CoP)

  9. อะไรคือชุมชนแนวปฏิบัติ?อะไรคือชุมชนแนวปฏิบัติ? • กลุ่มคนที่รวมตัวกันเพื่อ • … แรงปรารถนาร่วมกันในเรื่องๆ หนึ่ง • เข้าใจเป็นอย่างดีว่าอะไรเป็นประเด็นที่ต้องพูดคุยกัน • มีวิธีการคิดและเข้าถึงปัญหาคล้ายๆ กัน • … ปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ • ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ไขปัญหาและตอบคำถาม • เชื่อมโยงกันข้ามทีมและหน่วยธุรกิจ (หรือองค์กร) • … แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน • แลกเปลี่ยนข้อมูล เคล็ดลับ และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ • สร้างเครื่องมือและฐานข้อมูลความรู้ โดเมน ชุมชน แนวปฏิบัติ

  10. CoPเปรียบเหมือนเก้าอี้สามขาCoPเปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา โดเมน แนวปฏิบัติ ชุมชน

  11. กระบวนการเรียนรู้ของนักปฏิบัติกระบวนการเรียนรู้ของนักปฏิบัติ ประยุกต์ใช้ องค์ความรู้ การเรียนรู้ CoP หน่วยงาน ต้นสังกัด ของสมาชิก นำความรู้ใหม่ ป้อนกลับ

  12. CoPเกี่ยวข้องกับKM อย่างไร? เครื่องมือ กระบวนการ โครงสร้าง Technology KM CoPs

  13. CoPช่วยพัฒนาไปสู่LO บ่งชี้ ยกระดับ สร้าง CoP ใช้ แลกเปลี่ยน องค์กรแห่ง การเรียนรู้ CoP7 CoP4 CoP5 CoP3 CoP2 CoP8 CoP6 CoP10 CoP1 CoP9

  14. ประโยชน์ของCoP • สำหรับองค์กร • ช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ • แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้น • แพร่กระจายแนวปฏิบัติที่ดีเยี่ยม • เพิ่มโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในองค์กร • พัฒนาองค์ความรู้ที่มีพลวัตขององค์กร • สำหรับพนักงาน • ได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนในชุมชน • ได้ร่วมมือกับเพื่อนในชุมชนพัฒนาความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้ • ได้รู้จักเพื่อนใหม่ที่มีหลายสิ่งหลายอย่างคล้ายๆ กับคุณ รวมทั้งอาจกำลังเผชิญปัญหาที่คล้ายคลึงกับคุณอยู่ • ได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

  15. CoPมีหลายรูปแบบ • เล็ก หรือ ใหญ่ • มีอายุยืนยาว หรือ มีอายุสั้น • อยู่รวมกัน หรือ กระจายตัว • เป็นเนื้อเดียวกัน หรือ เป็นส่วนผสมที่หลากหลาย • เกิดขึ้นเอง หรือ จงใจให้เกิด • ไม่มีใครรู้จัก หรือ ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ • ภายในขอบเขต หรือ ข้ามขอบเขต

  16. ขอบเขตของ CoPไม่ชัดเจน! ภายในหน่วยธุรกิจเดียวกัน ข้ามหน่วยธุรกิจ ข้ามองค์กร

  17. CoPกับโครงสร้างที่คล้ายกันCoPกับโครงสร้างที่คล้ายกัน • ทีม • ได้รับการแต่งตั้ง , รวมตัวกันในระยะเวลาที่จำกัด , เป้าหมายมักกำหนดโดยฝ่ายบริหาร • กลุ่ม QC • เน้นที่ปัญหา ไม่ใช่ความรู้ , รวมตัวกันในหน่วยงาน

  18. โครงสร้างการทำงานแห่งอนาคตโครงสร้างการทำงานแห่งอนาคต พัฒนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้โดยไม่ต้องเปลี่ยนโครงสร้าง แบ่งตามแผนก แบ่งตามทีมงาน แบ่งตามผลิตภัณฑ์ / บริการ ผสมผสานโครงสร้าง หลายรูปแบบ

  19. หลักห้าประการในการดูแลหลักห้าประการในการดูแล ชุมชนแนวปฏิบัติ

  20. หลักห้าประการในการดูแลCoPหลักห้าประการในการดูแลCoP 1. ออกแบบเพื่อให้เกิดวิวัฒนาการ 2. เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมด้วยระดับที่ต่างกัน 3. พัฒนาพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว 4. มุ่งเน้นที่คุณค่า 5. ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้น เพื่อสร้างจังหวะให้กับชุมชน

  21. วงจรชีวิตของ CoP ระดับพลัง การดูแล การรวมตัว การปฏิรูป การเติบใหญ่ การมีศักยภาพ ระยะเวลา ความตึงเครียด ในช่วงการพัฒนา ความรู้สึกเป็นเจ้าของ / การเปิดเผย ค้นหา / จินตนาการ บ่มตัว / มอบคุณค่าในทันที มุ่งเน้น / ขยาย ปล่อยวาง / คงไว้

  22. CoP ด้านคุณภาพ ที่ ซิตี้แบงก์ วงจรชีวิต จำนวนสมาชิก และ จำนวนโครงการ 6,000 # จำนวนสมาชิก # จำนวนโครงการ 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 1996 1997 1998 1999 2000 Sources: APQC’s 5th Knowledge Management Conference 2001

  23. หลักห้าประการในการดูแลCoPหลักห้าประการในการดูแลCoP 1. ออกแบบเพื่อให้เกิดวิวัฒนาการ 2. เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมด้วยระดับที่ต่างกัน 3. พัฒนาพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว 4. มุ่งเน้นที่คุณค่า 5. ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้น เพื่อสร้างจังหวะให้กับชุมชน

  24. สมาชิกภาพในCoP คนนอก ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประสานงาน กลุ่ม แกนหลัก กลุ่มประจำ กลุ่มเปลือกนอก

  25. การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม ผังองค์กรของบริษัทสำรวจและขุดเจาะน้ำมันแห่งหนึ่ง รองประธานอาวุโส สุทธิ สำรวจ ขุดเจาะ ผลิต สมบัติ พิชิต กิตติ สิทธิชัย ยั่งยืน ปรีชา ธนา พรชัย ทวีศักดิ์ ธวัชชัย สามารถ กมล เกียรติศักดิ์ ชูวิทย์ ต่อศักดิ์ สมภพ วัลลพ สมเกียรติ วรวุฒิ

  26. การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม พรชัย พิชิต กมล ยั่งยืน วัลลพ สุทธิ ธนา สามารถ วรวุฒิ ชูวิทย์ ธวัชชัย กิตติ เกียรติศักดิ์ ปรีชา สมเกียรติ สมบัติ ทวีศักดิ์ ต่อศักดิ์ สมภพ สิทธิชัย โครงสร้างการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ (การขอความช่วยเหลือ) Social Network Analysis

  27. หลักห้าประการในการดูแลCoPหลักห้าประการในการดูแลCoP 1. ออกแบบเพื่อให้เกิดวิวัฒนาการ 2. เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมด้วยระดับที่ต่างกัน 3. พัฒนาพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว 4. มุ่งเน้นที่คุณค่า 5. ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้น เพื่อสร้างจังหวะให้กับชุมชน

  28. หลักห้าประการในการดูแลCoPหลักห้าประการในการดูแลCoP 1. ออกแบบเพื่อให้เกิดวิวัฒนาการ 2. เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมด้วยระดับที่ต่างกัน 3. พัฒนาพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว 4. มุ่งเน้นที่คุณค่า 5. ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้น เพื่อสร้างจังหวะให้กับชุมชน

  29. หลักห้าประการในการดูแลCoPหลักห้าประการในการดูแลCoP 1. ออกแบบเพื่อให้เกิดวิวัฒนาการ 2. เชื้อเชิญสมาชิกให้เข้าร่วมด้วยระดับที่ต่างกัน 3. พัฒนาพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว 4. มุ่งเน้นที่คุณค่า 5. ผสมผสานความคุ้นเคยและความตื่นเต้น เพื่อสร้างจังหวะให้กับชุมชน

  30. สร้างจังหวะด้วยกิจกรรมที่หลากหลายสร้างจังหวะด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย กิจกรรมต่างๆ ล้วนเสริมซึ่งกันและกัน! เว็บไซต์ จดหมายข่าว แจ้งทางอีเมล์ โครงการ การพูดคุยเป็น การส่วนตัว การประชุม ทางโทรศัพท์ เยี่ยมชม งานประชุม ประจำปี

  31. ย้อนกลับมาที่ KMยุคที่ 3 • ความรู้จัดการโดยผู้ที่ใช้ความรู้ • ความรู้เป็นพลวัต (เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา) • ความรู้พัฒนาในระดับปัจเจกบุคคลและระดับสังคม • ความรู้มีทั้ง Explicit และ Tacit

  32. Roadmap to CoPs ประเมิน วัฒนธรรมองค์กร จัดตั้งทีมสนับสนุน (KM Team) กำหนดบทบาท พัฒนาระบบ IT สร้างชุมชน บ่งชี้โดเมน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาแนวปฏิบัติ ฝึกอบรม Launch สื่อสาร CoPs

  33. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • การสนับสนุนของผู้บริหาร • มีโดเมนที่ชัดเจน • การกำหนดบทบาทในชุมชน • สร้างคุณค่าแก่สมาชิกและองค์กร • ระมัดระวังเรื่องการวัดผล

  34. ถามมา - ตอบไป

More Related