html5-img
1 / 15

การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559. นายเชวง จาว รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3 กันยายน 2556. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ส.อ.ท.

dirk
Download Presentation

การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 นายเชวง จาว รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3 กันยายน 2556

  2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ส.อ.ท. • การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนฯ • ข้อเสนอแนะ ประเด็นนำเสนอ

  3. “เสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพภาคอุตสาหกรรม และSMEsทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอย่างบูรณาการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันในระดับสากล เตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงปัจจัยเอื้อ ความสามารถในการแข่งขัน สิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม” วิสัยทัศน์ ส.อ.ท.

  4. พันธกิจ 1 : ส่งเสริมภาคการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการเชื่อมโยงระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม การบริการ และการศึกษา เพื่อนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม ผ่านการเชื่อมโยงในรูปห่วงโซ่การผลิต และการรวมตัวในลักษณะของคลัสเตอร์ พันธกิจ 2 : เสริมสร้างศักยภาพให้ทุกกลุ่มอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมจังหวัด อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และสามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคและระดับสากล พันธกิจ 3 : รณรงค์และสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปสู่เมืองอุตสาหกรรมนิเวศน์ (Eco-Industrial Town) พันธกิจ 4 : เป็นตัวแทนภาคเอกชน สะท้อนปัญหา ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศในด้านต่างๆ ต่อภาครัฐอย่างเป็นอิสระ ทำงานประสานความร่วมมือกับรัฐบาล องค์กรต่างๆ โดยปลอดจากการเมือง พันธกิจ 5 : เสริมสร้างให้เกิดการทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบทั้งในระดับสมาชิก ส.อ.ท. กรรมการและผู้ปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาองค์กรให้มีความเข้มแข็งและเป็นเสาหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พันธกิจหลักของ ส.อ.ท.

  5. ยุทธศาสตร์ที่ 1 :  การสร้างคุณค่าเพิ่มในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์สินค้าด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 :  การส่งเสริมอุตสาหกรรมให้อยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 :  การพัฒนาการดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมในรูปแบบเครือข่ายกลุ่ม อุตสาหกรรม (คลัสเตอร์) และ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ยุทธศาสตร์ที่ 4 :  มาตรการเชิงรุกและรับสำหรับการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) และกรอบข้อตกลงเสรีทางการค้า (FTA) ยุทธศาสตร์ที่ 5 :  การสนับสนุนปัจจัยเอื้อต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมและบูรณา การหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์พร้อมสู่ความยั่งยืนของธุรกิจ อุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ ส.อ.ท.

  6. อุตสาหกรรมยังคงจำเป็นสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ • การพัฒนาอุตสาหกรรมต้องให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตที่ดี ของชุมชนและสังคม ควบคู่ไปกับการเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ อย่างมีดุลยภาพ • สามารถลดและควบคุมมลภาวะได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีฉุกเฉิน • เน้นการอนุรักษ์การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ทั้งในกระบวนการผลิตและระบบโลจิสติกส์อย่างบูรณาการ • เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อชุมชนและประเทศชาติอย่างแท้จริง • ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน และต้องมีส่วนช่วยให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นโยบาย ส.อ.ท. ต่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

  7. สถาบันน้ำเพื่อความยั่งยืน สถาบันน้ำเพื่อความยั่งยืน สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม หน่วยงานรับผิดชอบด้านทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และพลังงาน

  8. การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ

  9. การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ

  10. การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ

  11. การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ

  12. การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ

  13. การดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ

  14. ภาคอุตสาหกรรมมีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ แต่มีข้อเสนอแนะเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามแผนฯ ดังนี้ • ภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณที่เหมาะสมในการดำเนินงานฯ สำหรับภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม เพื่อช่วยให้เกิดการปรับปรุงฯที่มีประสิทธิภาพ • เสริมสร้างบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ทั้งของหน่วยงานภาครัฐ และนักวิชาการที่เพียงพอและสามารถรองรับกับความต้องการได้ • ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนา (Research & Development : R&D) • ควรระบุหน่วยงานรับที่ผิดชอบหลักในการดำเนินงาน (เจ้าภาพ) ที่ชัดเจน และมีการบูรณาการการดำเนินงานไม่ให้เกิดการความซ้ำซ้อนระหว่างหน่วยงานต่างๆ • ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ความเข้าใจกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและมีทิศทางการดำเนินงานที่ตรงกัน • ปรับปรุงกฎระเบียบข้อบังคับที่เป็นอุปสรรค ให้มีความเหมาะสม และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และลดความซ้ำซ้อนของกฎหมายที่ออกโดยหน่วยงานต่างกัน • การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน และลดข้อขัดแย้งต่างๆ ข้อเสนอแนะ

  15. ขอบคุณครับ

More Related