1 / 59

ระบบข้อมูลข่าวสารความเสี่ยงทางสุขภาพ

ระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยง Click anywhere. ระบบข้อมูลข่าวสารความเสี่ยงทางสุขภาพ. กรมควบคุมโรค. ระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยงของบุคลากรในโรงพยาบาล. แบ่งเป็นสองด้าน. ระบบรายงาน ระบบสำหรับใช้ในโรงพยาบาล. การปรับปรุงสารสนเทศในปีนี้. การรายงานข้อมูล Internet base

dino
Download Presentation

ระบบข้อมูลข่าวสารความเสี่ยงทางสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยงระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยง Click anywhere. ระบบข้อมูลข่าวสารความเสี่ยงทางสุขภาพ กรมควบคุมโรค

  2. ระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยงของบุคลากรในโรงพยาบาลระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินความเสี่ยงของบุคลากรในโรงพยาบาล

  3. แบ่งเป็นสองด้าน • ระบบรายงาน • ระบบสำหรับใช้ในโรงพยาบาล

  4. การปรับปรุงสารสนเทศในปีนี้การปรับปรุงสารสนเทศในปีนี้ การรายงานข้อมูล • Internet base • ปรับระบบให้เรียบง่ายขึ้น • ตัดการทำ External Audit ของสสจ. และ สคร. Online ออก • ขอให้โรงพยาบาลที่จะประสงค์ให้ สคร.และสำนักไปประเมิน รายงานข้อมูล online ก่อน จากนั้นถือว่าพร้อมให้เข้าไปรับการประเมินแล้ว • การรายงาน online เป็นภาคบังคับ

  5. Internet Officer Health 2008 Risk Assessment 2008 X X ลักษณะการรายงาน Internal Audit การประเมิน ความเสี่ยง RAH06 &SRAH1 การตรวจสุขภาพตาม ความเสี่ยง OPD Card/ ข้อมูลดิบ Summary Sheet การรายงานควรเริ่มโดยการเตรียมข้อมูลที่ file Excel ให้เรียบร้อยแล้วจึงส่งเข้าระบบอินเตอร์เน็ต (กึ่ง Manual)

  6. การรายงานการประเมินความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลการรายงานการประเมินความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล Website การประเมินความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล http://www.envocc.org http://www2.diw.go.th/envocc

  7. การปรับปรุงระบบสำหรับใช้ในโรงพยาบาลการปรับปรุงระบบสำหรับใช้ในโรงพยาบาล • ยังใช้ MS Excel เป็นหลัก • ปรับปรุงให้ใช้งานสะดวกขึ้น • ทำ spreadsheet สำหรับการประเมินความเสี่ยงด้วย

  8. หน้าแรกแสดงการ login ปีนี้มีการปรับปรุงเพื่อเพิ่มความสามารถในการประกาศข้อความแบบรวดเร็ว

  9. MENU หลัก

  10. หน้าเปลี่ยนรหัสผ่าน

  11. หน้าแจ้งว่ารพ.ไหนรายงานข้อมูลแล้ว ปีนี้เพิ่ม link ให้ click ดูผลได้ทันที

  12. หน้าแบบรายงานข้อมูล RAH 06 (ปีนี้เพิ่มแบบรายงาน SRAH 1 ด้วย)

  13. ปีนี้มีแบบรายงาน SRAH1 แบบรายงานการประเมินตนเอง (Self risk assessment in Hospital) วันที่ตรวจประเมิน............................ ระบุชื่อทีมงานผู้ตรวจประเมิน ................................................... ................................................... สรุปผลการตรวจประเมินการดำเนินงานและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารโรงพยาบาล 3.1 สรุปผลการตรวจประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ที่กำหนดอยู่ในระดับ............... 3.2 ผลการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงของโรงพยาบาลในภาพรวม 3.2.1 จุดเด่น/ปัจจัยความสำเร็จของการดำเนินงาน 1...................................... 2...................................... 3.2.2 มีข้อจำกัด/ปัญหาที่พบในการดำเนินงาน 1...................................... 2...................................... 4. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อผู้บริหารโรงพยาบาล

  14. หน้าแบบรายงานข้อมูล Internal Audit

  15. การใช้ชุดซอฟต์แวร์สำหรับประเมินความเสี่ยงและบันทึกสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลการใช้ชุดซอฟต์แวร์สำหรับประเมินความเสี่ยงและบันทึกสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล • เป็นชุดที่ปรับปรุงขึ้นมาจากชุดในปี 2550 ประกอบไปด้วย • ไฟล์สำหรับประเมินความเสี่ยง (RiskAssessment2008.XLS) • ชุดบันทึกการตรวจสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย • ไฟล์ข้อมูลบุคลากร OfficerHealth2008.XLS • ไฟล์ประกอบการรายงาน ได้แก่ PersonalReport2008.doc • ไฟล์คู่มือเป็น PowerPoint • Download ได้ที่ www.envocc.orgหรือที่ www2.diw.go.th/envocc

  16. คู่มือการประเมินความเสี่ยงของบุคลากรในโรงพยาบาล สำหรับปี 2551 กลุ่มสารสนเทศ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

  17. ตัวอย่างหน้าจอสำหรับลงข้อมูลตัวอย่างหน้าจอสำหรับลงข้อมูล

  18. หลักการประเมินความเสี่ยงหลักการประเมินความเสี่ยง • นำ File RiskAssessment2008 ที่ได้มาไปลงใน Folder C:\envocc ในเครื่องของท่าน • การลงข้อมูลทำใน Sheet “Data” เท่านั้น โดยเริ่มจาก • Column A.ข้อมูลตึก (ซึ่งมาจาก Sheet “รายการแผนก”) • Column B. ข้อมูลความเสี่ยงและ Column C.ชนิดความเสี่ยง (ซึ่งอ้างอิงมาจาก Sheet “รายการความเสี่ยง”) • Column D.ข้อมูลจำนวนผู้ปฏิบัติและ Column E. จำนวนผู้รับบริการต่อวัน • Column F. โอกาสเกิดอันตรายและ Column G.ความเป็นอันตราย • Column H.ระดับความเสี่ยง (ผลคูณของโอกาสและความเป็นอันตราย)

  19. ตัวอย่างการเพิ่มข้อมูล “โรงบำบัดน้ำเสีย” ใน Sheet รายการความเสี่ยง

  20. การเพิ่มความเสี่ยงใน Sheet “รายการความเสี่ยง” ตัวอย่าง Sheet ความเสี่ยง

  21. ตัวอย่างการเพิ่ม Acetic Acid Conc ซึ่งพบในแผนกรังสีวินิจฉัยใน Sheet “รายการความเสี่ยง” อย่าลืมใส่ “หัวข้อความเสี่ยง” (เคมี) ด้วย

  22. ในการเดินสำรวจโรงบำบัดน้ำเสีย ผู้สำรวจพบว่ามีความเสี่ยงจากไฟฟ้าลัดวงจรจึงลงข้อมูลดังตัวอย่างนี้ เริ่มจากข้อมูลตึก/แผนก

  23. ตัวอย่างการลงข้อมูลสิ่งคุกคามสุขภาพของโรงบำบัดน้ำเสีย(“การทำงานกับเกี่ยวกับไฟฟ้า”)ตัวอย่างการลงข้อมูลสิ่งคุกคามสุขภาพของโรงบำบัดน้ำเสีย(“การทำงานกับเกี่ยวกับไฟฟ้า”)

  24. ในภาพหัวข้อความเสี่ยงจะขึ้นมาเองส่วนโอกาสเกิดอันตราย ผู้ใช้เลือกให้เท่ากับ 3 เนื่องจากในแผนกดังกล่าวไม่เคยมีคู่มือการปฏิบัติงานกับไฟฟ้าและเคยมีผู้บาดเจ็บสาหัสมาแล้ว

  25. เนื่องจากอันตรายจากไฟฟ้าลัดวงจร ถึงตายได้ จึงให้ค่าความเป็นอันตรายเป็น 3 และระดับความเสี่ยงเป็น 9 (3 คูณ 3)

  26. ในการสรุปความเสี่ยงเพื่อเรียงลำดับความเสี่ยงจากมากไปน้อยของแต่ละตึกนั้น ให้ดู.ใน Sheet SummarySheet (ถ้าข้อมูลไม่ Refresh ให้ Click Menu หลัก ข้อมูล  ฟื้นฟูข้อมูล

  27. ในการสรุปความเสี่ยงเพื่อเรียงลำดับความเสี่ยงจากมากไปน้อยของแต่ละตึกนั้น ถ้าต้องการทำแบบ Manual ให้เลือกข้อมูลทั้งหมด รวมทั้งหัวตารางสีเทาในแถวที่ 5 ด้วย (ถ้าไม่มีหัวคอลัมน์จะเรียงไม่ได้)

  28. จากนั้นทำการเรียงลำดับโดยเริ่มจากตึกก่อน (จากมากไปน้อย หรือน้อยไปมากก็ได้) แล้วตามด้วยระดับความเสี่ยง จากมากไปน้อย

  29. จะได้ความเสี่ยงสูงสุดของแต่ละตึกตามความต้องการจะได้ความเสี่ยงสูงสุดของแต่ละตึกตามความต้องการ

  30. คู่มือการใช้ข้อมูลการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่(OfficerHealth2008.XLS)คู่มือการใช้ข้อมูลการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่(OfficerHealth2008.XLS) Download at http://www2.diw.go.th/envocc/index.asp

  31. คำแนะนำอย่างสั้นที่สุด สำหรับท่านที่อ่านเพียงหน้าเดียว • Sheet ที่ใช้ลงข้อมูลคือ Exam ใน File OfficerHealth2008.xls ลงข้อมูลได้ประมาณ 1,995 คน โดยเริ่มที่แถว (Row) ที่ 9 • อย่าลบ Worksheet ใดๆ • หลีกเลี่ยงการลบ Column (แถวในแนวดิ่ง) เว้นแต่อ่านคู่มือจบแล้ว • กลับกันสามารถแทรก Column เพิ่มเติมได้ด้วยความระมัดระวัง วิธีดีที่สุดคือต่อท้าย Column สุดท้าย ซึ่งไม่มีผลเสียใดๆ • ลบ Row (แถวในแนวราบได้) ตามใจชอบ เว้นแต่แถวที่ 1-8 ด้านบน • ลบตัวอย่างที่ให้มา 18 แถวได้ โดยลบทั้งแถว • หลีกเลี่ยงการลบเซลล์ (ช่องสี่เหลี่ยมที่ใส่ข้อมูล) ที่เป็นสีเหลือง • หลีกเลี่ยงการ Copy สูตรข้าม Column

  32. ลักษณะทั่วไป • ข้อมูลชุดนี้จัดทำเพื่อบันทึกข้อมูลการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง • ข้อมูลชุดนี้จะช่วยในการทำรายงานตาม “แบบรายงานการประเมินความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล”(RAH.06) • โรงพยาบาลในโครงการไม่จำเป็นต้องใช้รายงานนี้แต่ต้องมีรายงานที่ลักษณะคล้ายๆกับ Sheet “Summary” หรือ RAH.06 ของฐานข้อมูลนี้ • ข้อมูลนี้เป็นหลักฐานในการดำเนินงานข้อ 7 และ 8 ของ Internal Audit

  33. องค์ประกอบของ OfficerHealth2008.XLS ประกอบไปด้วย Worksheet ดังต่อไปนี้ • Sheet Exam ใช้ลงข้อมูลการตรวจสุขภาพทั่วไป และการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง • Sheet Summary เป็นการสรุปข้อมูลตามแบบ RAH.06 • Sheet FraminghamRef เป็น Sheet อ้างอิงสำหรับให้ Function ใน Sheet Exam ใช้ค้นหาข้อมูลอ้างอิง ข้อมูลที่มีประกอบด้วยข้อมูลตาราง Framingham Index(A1:X33), ตารางการการทดสอบความจุปอดแบบออสเตรเลีย (A61:L224), สมการความจุปอดแบบศิริราช(Y62:AB77), ตารางแรงบีบมือ และแรงเหยียดขา (A230:H260) • Sheet Mirror เป็น Sheet ที่เป็น “เงา” ของ Sheet Exam เพื่อใช้ทำรายงานสำหรับเจ้าหน้าที่เป็นรายคน ใน Version ล่าสุด เราได้ลบ Sheet นี้ออกไปแล้วแต่ใช้วิธีตั้งชื่อข้อมูลในบล็อกที่ใช้การได้ว่า Mirror แทน

  34. การเริ่มต้นใช้งาน • เปิดโปรแกรม Excel แล้วเปิดใช้ข้อมูล OfficerHealth2008.XLS • คลิกเมนู มุมมอง แล้วคลิกปิดช่องการแสดงแถบสูตร เนื่องจากสูตรที่มีจะยืดยาวอย่างมากและอาจรบกวนการแสดงผล • ดูรายละเอียดในภาพต่อไป

  35. การปิดช่องแสดงสูตร

  36. การใช้ Sheet Exam • เป็นส่วนหลักที่ต้องลงข้อมูล โดยเริ่มลงได้ตั้งแต่แถวที่ 6 • ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ คือ • ข้อมูลส่วนบุคคล • ข้อมูลรูปร่าง • ข้อมูล Lab • การตรวจสมรรถภาพทางกาย • 5 แถว (Row) แรกจะเป็นหัวตารางและค่าที่ใช้อ้างอิงเช่นค่าปกติ ซึ่งประกอบด้วย • ค่าสูงสุดของความปกติ (Upper Limit of Normal) • ค่าต่ำสุดที่ยังปกติของข้อมูลต่างๆ (Lower Limit of Normal) • คำอธิบายสั้นๆ ค่าทางสถิติได้แก่ ค่าตำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย เนื้อข้อมูล

  37. การตรวจสอบความถูกต้อง(=การบังคับไม่ให้ใส่ข้อมูลสูงหรือต่ำเกินควร หรือใส่ผิดประเภท) • ค่าสูงสุดและต่ำสุดที่แถวที่ 3 และ 4 นี้จะเป็นตัวควบคุมค่าความถูกต้องของข้อมูลซึ่งอยู่ตั้งแต่แถวที่ 6 เป็นต้นไป • ส่วนใหญ่จะตั้งการตรวจสอบความถูกต้องให้ข้อมูลมีค่าไม่มากกว่า 5 เท่าของค่าสูงสุด • เช่นถ้าค่า FBS สูงสุด(ที่ยังปกติ)เท่ากับ 110 ข้อมูลจะใส่ได้ไม่เกิน 550 มิฉะนั้นจะมีคำเตือนเกิดขึ้น • คุณสามารถปรับเปลี่ยนค่าสูงสุดและต่ำสุดนี้ได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องแก้สูตรโดยปรับที่ค่าแถวที่ 3, 4

  38. การใช้สีในชุดข้อมูลนี้การใช้สีในชุดข้อมูลนี้ • ส่วนที่สามารถกรอกข้อมูลจะเป็นสีขาว • เมื่อกรอกข้อมูลแล้ว บางครั้งถ้าค่านั้นสูงกว่าค่าสูงสุด เซลล์จะเปลี่ยนเป็นสีส้มในขณะที่ถ้าต่ำกว่าค่าต่ำสุดจะเป็นสีฟ้า และอาจเปลี่ยนตามข้อมูลที่เป็น YES NOด้วย • ส่วนที่ไม่จำเป็นต้องกรอก ซึ่งเป็นส่วนที่ Excel คำนวณให้ (เป็น Calculated Field) จะเป็นสีเหลือง

  39. ทำอย่างไรเมื่อสูตรหายไปทำอย่างไรเมื่อสูตรหายไป • ข้อมูลชุดนี้จะมีจะถูกตั้งสูตรและรูปแบบไว้ล่วงหน้า ตั้งแต่ Row ที่ 6 จนถึง Row ที่ 2000 แม้ว่าจะดูว่างๆ แต่ก็มีข้อมูลอยู่ก่อนที่จะ Key นั่นคือแม้มีหรือไม่มีข้อมูลก็ไม่แตกต่างกัน หรือไม่ใช่เซลล์ที่ว่างอย่างแท้จริง • สูตรเหล่านี้หายได้เสมอ แต่แก้ได้ง่ายเช่นกัน เซลล์ที่ยังมีสูตรอยู่ =IF(ISBLANK(CM8),"",MAX(-25+MIN((MAX(MIN(CM8,100),0)+MAX(MIN(CN8,100),0)+MAX(MIN(CO8,100),0)+MAX(MIN(CP8,100),0)),368)/4,0)*1.5) เซลล์ที่สูตรหายไป

More Related