1 / 28

APPENDIX (ตัวอย่าง)

APPENDIX (ตัวอย่าง). - ผังโครงสร้าง / หน้าที่ - การสื่อสารภายใน / ภายนอก (DIRECTORY) - แนวทางปฏิบัติในการระงับเหตุ ณ จุดเกิดเหตุ - ข้อมูลโรงงาน - MSDS - LIST อุปกรณ์ป้องกัน / ระงับภัยด้านสิ่งแวดล้อม - แนวทางปฏิบัติ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ

dextra
Download Presentation

APPENDIX (ตัวอย่าง)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. APPENDIX (ตัวอย่าง) - ผังโครงสร้าง / หน้าที่ - การสื่อสารภายใน / ภายนอก (DIRECTORY) - แนวทางปฏิบัติในการระงับเหตุ ณ จุดเกิดเหตุ - ข้อมูลโรงงาน - MSDS - LIST อุปกรณ์ป้องกัน / ระงับภัยด้านสิ่งแวดล้อม - แนวทางปฏิบัติ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ - แผนผังโรงงาน / นิคมที่ตั้งอยู่ - โครงสร้างแผนฯ จังหวัดระยอง

  2. ตัวอย่างบอร์ด ในห้องบัญชาการเหตุฉุกเฉิน (COMMAND ROOM BOARD)

  3. ระบบแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุฉุกเฉิน TOC 1. แจ้งเหตุในโรงงาน : ผู้บริหาร, ผู้ปฏิบัติงาน และ VISITOR ในพื้นที่ โรงงานขณะนั้น (OFFICE, FIELD) ระบบแจ้งเหตุในโรงงาน SEQUENCE : 1. SIREN = ALERT (เตรียมพร้อม) 2. AUDIBLE ALARM = สัญญาณเสียงเข้าสู่เหตุฉุกเฉิน (ประเภท, ระดับต่าง ๆ 3. PUBLIC ANNOCCEMENT = ประกาศข้อความแจ้งเหตุฉุกเฉิน (เหตุการณ์, แนวทางปฏิบัติ) 4. WALKIE – TALKIE = ประกาศช่องฉุกเฉินให้ผู้ไม่เกี่ยวข้อง งดใช้, STAND BY

  4. ระบบแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุฉุกเฉิน TOC (ต่อ) 2. แจ้งเหตุนอกโรงงาน : ผู้เกี่ยวข้องกับแผนฯ ฉุกเฉินที่จำเป็นต้องทราบ; ต้องเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ ที่อยู่นอกพื้นที่โรงงาน ขณะนั้น หรือนอกเวลาทำการปกติ ระบบแจ้งเหตุนอกโรงงาน (แจ้งเหตุส่วนบุคคล) ทำเพิ่มเติมจากระบบแจ้งเหตุภายในโรงงาน 1. ส่ง SMS 2. โทรศัพท์แจ้ง DUTY ROTA (4 คน)

  5. TOC EMERGENCY COMMUNICATION FLOW CHART EMERGENCY SITUATION SIREN NO YES AUDIBLE ALARM SEND SMS - GROUP R (DUTY ROTA) - GROUP C (ON-CALL TEAM) - GROUP M (MANAGEMENT) - GROUP K (KEY MAN) PHONE CALL (DUTY ROTA) PUBLIC ANNOUNCEMENT FIELD & OFFICE

  6. เมื่อได้ยินเสียง SIREN ผู้ปฏิบัติงานในเขตควบคุม - หยุดงาน / ปิดเครื่องมือทุกชนิด - ออกจากที่อับ / ลงจากที่สูง - ไปที่ TRIAGE AREA (TA) ที่ใกล้ที่สุด - รอฟังประกาศ, ปฏิบัติตาม - กลับเข้ามาปฏิบัติงาน เมื่อได้รับแจ้งสภาวะปกติแล้วเท่านั้น (สัญญาณ CLEAR) ผู้ปฏิบัติงานนอกเขตควบคุม - รอฟังประกาศ, ปฏิบัติตาม

  7. TESTING PERIOD - ทดสอบทุกวันพุธ 11:30 น. - เริ่มจากกด MANUAL CALL POINT จริง (SIREN) หมุนเวียนกันไป - ดำเนินการโดย OPERATION (CONTROL ROOM) / พูดสดๆ - เสียงสัญญาณแต่ละเสียง จะถูกปล่อย/กดทิ้งไว้ให้ดังต่อเนื่อง 10 วินาที (พัก 3 วินาที) 2 ครั้ง - ข้อความประกาศ จะประกาศซ้ำ 2 ครั้ง

  8. แผนหนีไฟออกจากอาคาร และแผนอพยพ

  9. แผนหนีไฟออกจากอาคาร วัตถุประสงค์ • เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และมีความ • จำเป็นต้องเคลื่อนย้ายออกจากอาคาร • เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้จัดเตรียมระบบ / อุปกรณ์, • แต่งตั้งตัวแทนในการเคลื่อนย้ายบุคคลออกจากอาคาร • ไปยังจุดรวมพล

  10. ผู้ตรวจพื้นที่ (AREA WARDEN) หมายถึง ผู้ทำหน้าที่ในการตรวจพื้นที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล และ ประจำพื้นที่/อาคารนั้นๆ ให้มีการเคลื่อนย้ายบุคคลออกมายังจุดรวมพลที่กำหนดไว้ให้ครบถ้วนปลอดภัย รวมทั้งการตรวจสอบ/ดำเนินการที่เกี่ยวข้อง กรณีเกิดก๊าซพิษรั่วไหล ผู้ทำหน้าที่ - ตัวแทนหน่วยงาน/พื้นที่ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ผจก.สำนัก/ฝ่ายในหน่วยงาน/ พื้นที่นั้นๆ สัญลักษณ์ - ใช้ปลอกแขนที่มีข้อความ AREA WARDEN - ให้ตัวแทนแต่ละพื้นที่เป็นผู้ดูแลจัดเก็บให้พร้อมใช้งานตลอดเวลา หากมีการ สับเปลี่ยนบุคคล ให้มอบหมายบุคคลใหม่ดำเนินการต่อเนื่องกันไป

  11. ผู้ตรวจพื้นที่ (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ 1. สวมปลอกแขนฯ/ แจ้งบุคคลที่อยู่ในอาคารออกไปยังจุดรวมพล 2. ตรวจสอบให้หยุดปฏิบัติงาน 3. ตรวจสอบพื้นที่ที่รับผิดชอบให้ทั่วบริเวณ 4. ตรวจสอบและทำการปิดสวิทซ์ หรือถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ / เครื่องมือต่างๆ ที่เปิดใช้งานอยู่ 5. แจ้งจำนวนผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิต /ตกค้างให้ Command Room ทราบ 6. ออกไปจุดรวมพล แจ้งผลการตรวจพื้นที่ที่รับผิดชอบ/ เป็นผู้ช่วย ผู้ควบคุมที่จุดรวมพลในการนับยอด ตามที่ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล มอบหมาย และ Stand by อยู่จนกว่าจะมีประกาศจาก CCB ว่าจะให้ ดำเนินการอย่างไรต่อไป

  12. ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ASSEMBLY CONTROLLER) หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่นับยอดบุคคล, ควบคุมการรวมพล ของ พนักงาน, ผู้รับเหมา และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เมื่อเกิดเหตุ ฉุกเฉินขึ้น และจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายออกมายังจุดรวมพลที่กำหนดไว้ รวมทั้ง การประสานงานส่ง – รับข้อมูลกับ Command Room ผู้ทำหน้าที่ - จุดรวมพล 1 แต่งตั้งจาก หน.ทีมประสานงาน - จุดรวมพล 2 รปภ. ประตู 9 หรือ หน.หน่วย รปภ. - จุดรวมพล 3 แต่งตั้งจาก ผจก.ฝ่ายซ่อมบำรุง สัญลักษณ์ - ใช้ปลอกแขนที่มีข้อความ ASSEM. CONTROLLER

  13. ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ต่อ) หมายเหตุ : 1. การจัดหาปลอกแขนสัญลักษณ์มาใช้งาน ให้เป็นหน้าที่ของ ส่วน รอ./ฝคป. 2. ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ทั้ง 3 จุด) มีหน้าที่ ตรวจสอบปลอกแขนสัญลักษณ์ และรายชื่อพนักงานที่จัดทำไว้ที่จุดรวมพล (จุดรวมพล 1 และ 3) ตามระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้พร้อมใช้งาน 3. การแต่งตั้งผู้ทำหน้าที่ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล ของแต่ละหน่วยงาน/พื้นที่ ให้กำหนดผู้ทำหน้าที่สำรองไว้ด้วย 4. การจัดทำและ Up date รายชื่อพนักงาน, Contract out ของ TOC ที่เก็บไว้ ประจำจุดรวมพล 1 และ 3 ให้เป็นหน้าที่หลักของทีมประสานงาน ร่วมกับ ส่วน รอ.

  14. ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ เหตุฉุกเฉินระดับ 2, 3 ให้ปฏิบัติดังนี้ 1. รับวิทยุและโทรโข่งที่อาคารดับเพลิงมาใช้งานที่จุดรวมพล(เปิดวิทยุช่อง 5) 2. เดินทางไปจุดรวมพลที่รับผิดชอบทันที 3. นำปลอกแขนสัญญลักษณ์มาสวมใส่และควบคุมดำเนินการตาม ผังโครงสร้างการสั่งการที่จุดรวมพล 4. นำแบบฟอร์มที่จัดไว้มาตรวจเช็ค (นับยอด) รายชื่อพนักงานประจำจุดนั้นๆ ร่วมกับผู้ช่วยฯ ตามแบบฟอร์มที่จัดทำไว้ 5. กรณีมีผู้รับเหมาอยู่ด้วย ให้แยกรายชื่อแต่ละบริษัทให้ชัดเจน 6. ใช้การสื่อสารทางวิทยุช่อง 5 โดยพยายามสื่อสารให้สั้น และกระชับที่สุด 7. เมื่อนับยอดครบถ้วนแล้ว ให้แจ้ง Command Room ทราบทันที 8. ควบคุมบุคคล และ Stand by อยู่จนกว่าจะมีประกาศจาก CCB 9. ส่งบันทึก แบบฟอร์มสรุปยอดรวมบุคคลที่จุดรวมพล ให้อาคารดับเพลิง

  15. ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้มาติดต่อ (Visitor) ในอาคารฯ ผู้ปฏิบัติงาน หมายถึง ผู้ที่ถูกกำหนดตามโครงสร้างบังคับบัญชาของ TOC ให้ปฏิบัติงานประจำหน่วยงานของตนเอง รวมทั้ง Contract-out ที่ทำงานประจำพื้นที่นั้นๆ ผู้มาติดต่อ (Visitor) หมายถึง บุคคลภายนอกที่เข้ามาติดต่อกับพนักงาน TOCในขณะ ที่มีการประกาศแจ้งเหตุฉุกเฉิน

  16. ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้มาติดต่อ (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ 1. ควบคุมสติไม่ให้ตื่นตระหนก 2. เก็บ/รวบรวมเอกสาร, ข้อมูลสำคัญ, ทรัพย์สินมีค่าไว้ เพื่อการขนย้ายหากจำเป็น 3. ปิดกุญแจโต๊ะ, ตู้ทำงาน ปิดสวิทซ์ อุปกรณ์/เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้งานอยู่ 4. ออกไปรวมตัวที่จุดรวมพลที่กำหนดไว้ ตามเส้นทางหนีไฟ 5. กรณีมีผู้มาติดต่องานในขณะนั้น ให้แจ้งแนวทางปฏิบัติให้ทราบ 6. กรณีเกิดเหตุกับอาคารนั้นโดยตรง ไม่ควรเสียดายหรือกังวลกับทรัพย์สิน หรือสัมภาระส่วนตัวมากเกินไป 7. เมื่อไปถึงจุดรวมพลแล้ว ให้แยกออกเป็นฝ่าย/ส่วน ให้ชัดเจน 8. ให้รออยู่ที่จุดรวมพล จนกว่าจะมีประกาศจาก CCB แจ้งแนวทางปฏิบัติ 9. ผู้มาติดต่อให้แยกออกไปเป็นกลุ่มให้ชัดเจน

  17. ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้มาติดต่อ (ต่อ) หมายเหตุ : 1. แต่ละจุดรวมพล อาจมีผู้รับเหมาเข้ามารวมอยู่ด้วย (จะแยกเป็น กลุ่ม/บริษัท) 2. กรณีพนักงาน หรือ Contract out ไปติดต่องานกับหน่วยงานอื่น ให้ไปรวมตัวที่จุดรวมพลที่ใกล้ที่สุด 3. กรณีนอกเวลาทำการ หากยังมีการปฏิบัติงานอยู่ ให้พนักงาน, Contract out, VISITOR, นศ.ฝึกงาน มารวมตัว ณ จุดรวมพล หน้าอาคารดับเพลิง (บริเวณลานตรวจสภาพยานพาหนะ)

  18. แผนอพยพ วัตถุประสงค์ • เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเหตุฉุกเฉิน ขยายลุกลาม • รุนแรงมาก จำเป็นต้องอพยพบุคคลออกจากโรงงาน • เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการประสานงานกับหน่วยงาน • ที่เกี่ยวข้องกับแผนฯ ฉุกเฉิน จ.ระยอง เพื่อให้การอพยพ • เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

  19. แผนอพยพ (ต่อ) อพยพ หมายถึง การอพยพออกจากจุดรวมพลไปยังจุดปลอดภัย ภายนอกโรงงาน ณ สถานที่ที่ราชการกำหนดใน สถานการณ์ขณะนั้น การอพยพจะดำเนินการเมื่อ TOC ได้ประกาศเข้าสู่แผนเหตุฉุกเฉินระดับที่ 3 และ OC พิจารณาแล้วเห็นว่า มีความจำเป็นต้อง อพยพบุคคลออกนอกโรงงาน

  20. แผนอพยพ (ต่อ) แนวทางปฏิบัติ เมื่อมีการอพยพบุคคลออกไปยังพื้นที่ปลอดภัยนอกโรงงาน จะมี Audible Alarm จาก CCB ประกาศให้ทราบ จากนั้น จะมีหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเหลือไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยจะมียานพาหนะจาก TOC และราชการเข้ามารับ พร้อมกับการประสานงานเปิดเส้นทางให้ผ่านออกไปยังจุดรองรับการอพยพ ทั้งนี้ ก่อนที่จะอพยพออกไป ต้องทำการนับยอด และรายงานผลให้ Command Room ทราบก่อนทุกครั้ง

  21. ผังโครงสร้างการสั่งการที่จุดรวมพลผังโครงสร้างการสั่งการที่จุดรวมพล - ยืนในตำแหน่งที่เหมาะสม (Center) - มี Form สรุปยอดรวมใช้งาน - มีข้อมูลผู้รับเหมา กรณีที่มีผู้รับเหมาจำนวนมาก - มีแบบฟอร์มแจกให้ Area Warden ใช้งานเพียงพอ - อุปกรณ์สื่อสาร(วิทยุ, โทรโข่ง)มีคุณภาพดีใช้งาน - มีแฟ้มเก็บเอกสาร+เครื่องคิดเลขไว้ใช้งาน (เก็บในตู้) Assembly Controller (ผู้ควบคุมที่จุดรวมพล) เลขาฯ Area Warden#1 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#2 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#3 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#4 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#5 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#6 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#7 (ผู้ช่วยฯ) Area Warden#8 (ผู้ช่วยฯ) TOC Staff Contract out VISITOR/นศ. ฝึกงาน ผู้รับเหมา บริษัท…………. ผู้รับเหมา บริษัท…………… ผู้รับเหมา บริษัท…………... ผู้รับเหมา บริษัท……….....

  22. Assembly point #2 Contractor Assembly point #1 TOC Staff /Contract out /Visitor /นศ.ฝึกงาน Assembly point #3

More Related