1 / 40

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุไทย

โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ของภาคีเครือข่ายงานผู้สูงอายุ ในพื้นที่เขต 12 โรงแรมบีพีแกรนด์ทาวเวอร์ หาดใหญ่ สงขลา. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุไทย. สุวิณี วิวัฒน์วานิช จิราพร เกศพิชญวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถานการณ์และแนวโน้ม.

Download Presentation

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ของภาคีเครือข่ายงานผู้สูงอายุ ในพื้นที่เขต 12 โรงแรมบีพีแกรนด์ทาวเวอร์ หาดใหญ่ สงขลา แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุไทย สุวิณี วิวัฒน์วานิช จิราพร เกศพิชญวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. สถานการณ์และแนวโน้ม • โครงสร้างประชากร • ผู้สูงอายุและผู้ดูแลในครอบครัว • ผู้สูงอายุและสุขภาพ ความต้องการการดูแล

  3. สถานการณ์และแนวโน้มโครงสร้างประชากรสถานการณ์และแนวโน้มโครงสร้างประชากร

  4. พีระมิดประชากรไทย พ.ศ. 2513 - 2573 พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2573 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2553 ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง แหล่งข้อมูล : พ.ศ. 2513, 2533 สำมะโนประชากรและเคหะ, สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2553, 2573 การฉายภาพประชากรของประเทศไทย, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล 2550

  5. ระเบิดประชากรลูกที่ 1: ประชากรรุ่นเกิดล้าน(พ.ศ. 2506 – 2526) “ประชากรรุ่นเกิดล้าน” ปัจจุบันอายุ 24 – 44 ปี ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ “สถานการณ์ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548” ใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ ปราโมทย์ ประสาทกุล (บรรณาธิการ).2548.

  6. ระเบิด ประชากรสูงวัย สังคมสูงอายุ ระเบิดประชากรลูกที่ 2:การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัย ร้อยละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (ต่อประชากรทั้งหมด )

  7. จำนวน (ล้านคน) 26.9 % 25.1 % 23.0 % 22.7 % 20.7 % 19.8 % 19.0 % 16.8 % 17.2 % 16.0 % 64.1% 62.2% 60.5% 66.0% 67.0% 66.7% 67.4% 15.1 % 14.4 % 14.0 % 13.8 % 11.8 % 10.3 % ปี พ.ศ. ประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 - 2583

  8. Facts and Figures • จำนวนประชากรทั้งประเทศ 63,396,000คน • ชาย 31,241,000คน หญิง 32,155,000คน • ประชากรสูงอายุ 7,274,000คน คิดเป็นร้อยละ 11.16 ของประชากรทั้งประเทศ สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 18, กรกฎาคม 2552

  9. ข้อมูลล่าสุดอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรไทยชาย 69.5 ปีหญิง 76.3 ปี

  10. อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปีจำแนกตามภาค เพศ พศ. 2548-2549 ที่มา:สำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร พศ.2548-2549 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  11. พ.ศ.2567 ไทยจะมีประชากรสูงอายุเพิ่มเป็น 13.7 ล้านคน โดยเฉพาะกลุ่มที่อายุมากกว่า 80 ปีจะเพิ่มอีกเกือบ 3 เท่า เป็น 1.8 ล้านคนขนาดครอบครัวไทย 3.5 คนต่อครอบครัว

  12. ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรปัจจัยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร 1) การลดลงของอัตราการเจริญพันธุ์ 2) การลดลงของอัตราตายทารก (Infant Mortality Rate) 3) อายุคาดหวังเฉลี่ยของประชากรไทยเพิ่มขึ้น 4) ประชากรที่เป็นคนเมืองเพิ่มขึ้น

  13. 4) ผู้สูงอายุอายุมาก (Old old, Oldest old) คือ อายุ 80 ปีขึ้นเพิ่มมากขึ้น 5) ผู้สูงอายุหญิง > ผู้สูงอายุชาย 6) จำนวนคนโสด หย่าหรือแยกเพิ่มขึ้น 7) ขนาดครอบครัวเล็กลง 8) การย้ายถิ่นประชากรเพิ่มขึ้น วงเวียนชีวิต

  14. ตัวชี้วัดของการสูงอายุทางประชากรของไทยตัวชี้วัดของการสูงอายุทางประชากรของไทย ที่มา: สำมะโนประชากรประเทศไทย 1960 – 1990; สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2550 การคาดประมาณประชากรประเทศไทย 2543 -2573

  15. ลักษณะทางประชากรและสังคม ของประชากรอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประเทศไทย 2550 ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ,“สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย” 2551

  16. อายุคาดหวัง (LE) อายุคาดหวังที่ยังดูแลตนเองได้ (ALE) จำนวนปีที่มีชีวิตในสภาวะพึ่งพาจำแนกตาม เพศ ปี พ.ศ.2545 และปี พ.ศ.2550 ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ “สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย” 2551

  17. ประเทศไทย การปันผลทางประชากร อาจเกิดปัญหาการแข่งขันงาน ระหว่างคนต่างรุ่นอายุ ปี

  18. สรุปลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคม ของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550 • อายุ: • ประชากรสูงอายุไทยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 59) ยังเป็นผู้สูงอายุที่อายุน้อย คือ อายุ 60-69 ปี ประมาณร้อยละ 10 อายุ 80+ • โครงสร้างทางอายุของประชากรสูงอายุไม่แตกต่างกันมากระหว่างเขตเมืองกับเขตชนบท • เพศ: • ประชากรสูงอายุ ประกอบด้วยหญิงมากกว่าชาย (55% กับ 45%) • เพศชายมีสัดส่วนที่เป็นผู้สูงอายุที่อายุน้อย ( 60-69 ปี) มากกว่าแต่มีสัดส่วนที่เป็นผู้สูงอายุอายุมาก (80+) น้อยกว่าเพศหญิง • เขตที่พักอาศัย: • ส่วนใหญ่ (71%) อยู่ในชนบท ร้อยละ 29 อยู่ในเมือง

  19. สรุปลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคม ของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550 • สถานภาพสมรส: • ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 62) มีคู่สมรส ร้อยละ 32 เป็นหม้าย ร้อยละ 2 หย่า/แยก และร้อยละ 3 เป็นโสด • ผู้สูงอายุที่อายุมาก (70+) เป็นหม้ายมากกว่าผู้สูงอายุที่อายุน้อย (47% กับ 22%) • ผู้สูงอายุชายส่วนใหญ่ (83%) มีคู่สมรส • ผู้สูงอายุหญิง มีสัดส่วนที่มีคู่สมรสกับเป็นหม้ายพอๆ กัน (ร้อยละ 46 มีคู่สมรส ร้อยละ 47 เป็นหม้าย) • ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนที่เป็นโสด กับหย่า/แยกสูงกว่าผู้สูงอายุชาย(4% vs. 2% กับ 3% vs. 2%) • ผู้สูงอายุในเมือง มีคนโสด หม้าย กับหย่า/แยกมากกว่าผู้สูงอายุในชนบท • ร้อยละ 64 ของผู้สูงอายุในชนบทมีคู่สมรส

  20. สรุปลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจและสังคม ของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550 • การศึกษา: • ร้อยละ 16 ไม่ได้เรียนหนังสือ ร้อยละ 76 อ่านออกเขียนได้ • ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 74) มีการศึกษาระดับประถม • ผู้สูงอายุที่อายุน้อย มีการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุที่อายุมาก • ผู้สูงอายุชาย มีการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุหญิง • ผู้สูงอายุในเมือง มีการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุในชนบท • ภาวะสุขภาพ: • สุขภาพที่ประเมินตนเองดีขึ้น • สัดส่วนที่อยู่ในภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น • จำนวนปีที่ต้องอยู่อย่างพึ่งพาเพิ่มขึ้น • ผู้สูงอายุหญิงมีปัญหาสุขภาพมากกว่าชาย

  21. สถานการณ์และแนวโน้ม ผู้สูงอายุและผู้ดูแลในครอบครัว

  22. ผู้สูงอายุในอนาคตจะมีบุตรจำนวนน้อยลงที่จะมาให้การเกื้อหนุนผู้สูงอายุในอนาคตจะมีบุตรจำนวนน้อยลงที่จะมาให้การเกื้อหนุน จำนวนบุตรเฉลี่ยที่มีชีวิตปี2550 ชนบท รวม เมือง

  23. การอยู่คนเดียวหรืออยู่กับคู่สมรสเท่านั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นการอยู่คนเดียวหรืออยู่กับคู่สมรสเท่านั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น % อยู่คนเดียว % อยู่กับคู่สมรสเท่านั้น

  24. ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ “สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย” 2551 ร้อยละของผู้สูงอายุที่คิดว่าควรเตรียมการเพื่อวัยสูงอายุ ร้อยละที่ได้เตรียมการแต่ละด้าน และร้อยละที่ได้เริ่มทำการเตรียมการก่อนอายุ 55 ปี จำแนกตามอายุ เพศ และเขตที่อาศัย ประเทศไทย 2550

  25. สถานการณ์และแนวโน้ม ผู้สูงอายุและสุขภาพ ความต้องการการดูแล

  26. ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย 4 ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549

  27. ภาวะสุขภาพจากการประเมินตนเองมีแนวโน้มดีขึ้นภาวะสุขภาพจากการประเมินตนเองมีแนวโน้มดีขึ้น 2537 2545 2550 รวม อายุ 60-69 อายุ70+ ที่มา: นภาพร ชโยวรรณ “สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย”2551

  28. ที่มา : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546 -2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  29. ที่มา : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546 -2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  30. ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย4ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549

  31. ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย4ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549

  32. หมายเหตุ : อื่นๆ ประกอบด้วย เพื่อน / เพื่อนบ้าน / คนรู้จัก / พยาบาล / ผู้ช่วยพยาบาล / คนรับใช้ / ลูกจ้าง ที่มา : สำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทยพ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  33. ที่มา: การสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย4ภาค สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2549

  34. Source:Jitapunkul, S., et al., 1999a

  35. จำนวนผู้สูงอายุไทยที่มีภาวะสมองเสื่อมระหว่างปี พศ. 2543 - 2563 2553 2558 2548 2543 2563 Source: Jitapunkul, S., et al, 2001b

  36. แบบแผนการเจ็บป่วย ปัจจัยเสี่ยง โรคเรื้อรัง พันธุกรรม วิถีชีวิต บุหรี่ ออกกำลังกาย อาหาร แอลกอฮอลล์ สิ่งแวดล้อม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง อ้วน อุบัติเหตุ หกล้ม • อัมพฤกษ์ • อัมพาต • ช่วยตัวเองไม่ได้ • สมองเสื่อม • ซึมเศร้า การดูแลระยะยาว

  37. ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับประชากรสูงอายุประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับประชากรสูงอายุ • ภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพ ระบบบริการ • การเจ็บป่วยจากพฤติกรรม • การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง นำไปสู่ภาวะพึ่งพา • ความก้าวหน้าทางการแพทย์ เทคโนโลยี่การรักษา • ข้อจำกัดทางทรัพยากร ต้นทุนการดูแล การรักษา

  38. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ • กลุ่มที่ 2 มีโรคเรื้อรัง / ช่วยเหลือตัวเองได้ กลุ่มที่ 1 สุขภาพดี ไม่มีปัญหาสุขภาพ กลุ่มที่ 3 เริ่มมีภาวะพึ่งพา/ ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง กลุ่มที่ 4 ภาวะทุพพลภาพ / ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้

  39. เราพร้อมหรือยังที่เข้าสู่....สังคมวัยวุฒิ สังคม ส.ว.

More Related