1 / 63

การบริหารการคลังภาครัฐ

การบริหารการคลังภาครัฐ. หลักสูตร “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” ระดับปฏิบัติการ. รุ่นที่ 4 วันที่ 24 มีนาคม 2554. ขอบเขตการบรรยาย. หลักการบริหารการคลัง การบริหารการคลังของส่วนราชการ การบริหารการคลังของส่วนราชการ 3.1 ระบบงบประมาณ 3.2 ระบบการเงิน

denim
Download Presentation

การบริหารการคลังภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการคลังภาครัฐการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตร “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” ระดับปฏิบัติการ รุ่นที่ 4 วันที่ 24 มีนาคม 2554

  2. ขอบเขตการบรรยาย • หลักการบริหารการคลัง • การบริหารการคลังของส่วนราชการ • การบริหารการคลังของส่วนราชการ • 3.1 ระบบงบประมาณ • 3.2 ระบบการเงิน • 3.3 ระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง • 3.4 ระบบบัญชี • 4. การบริหารการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) • 4.1 e-Government & GFMIS • 4.2 ภาพรวม GFMIS

  3. การคลังและการบริหารการคลังการคลังและการบริหารการคลัง การคลัง ภาษี นโยบาย เศรษฐกิจมหภาคและ ระหว่างประเทศ การเงิน รายได้แผ่นดิน การออมการลงทุน ภาษี สินทรัพย์ของรัฐ เครื่องมือ เงินคงคลัง รายจ่ายภาครัฐ งบประมาณ กู้เงิน วิธีการงบประมาณ บริหารหนี้สาธารณะ การคลัง บริหาร การคลัง การดำเนินงาน สินทรัพย์แผ่นดิน บริหารเงินคงคลัง จัดเก็บรายได้ บริหารรัฐวิสาหกิจ/ หลักทรัพย์ บริหารที่ราชพัสดุ หนี้สาธารณะ สงป. บัญชีกลาง กรมภาษี สศค. สบน. หน่วยงาน เงินคงคลัง ธนารักษ์ สคร. การควบคุมและ ประเมินผล ฝ่ายบริหาร องค์กรอิสระ ฝ่ายนิติบัญญัติ ข้อมูลทางการคลัง

  4. รายได้แผ่นดิน • เงินที่รัฐบาลได้มาและสามารถนำไปใช้ในการบริหารราชการโดยไม่มีข้อผูกพันจะต้องชำระคืน • แบ่งเป็น 2 ประเภท • ภาษีอากร บังคับเก็บจากผู้มีเงินได้ (ภาษีทางตรง/ภาษีทางอ้อม) • ไม่ใช่ภาษีอากร เรียกเก็บจาก(ได้รับผลประโยชน์หรือบริการที่รัฐจัดให้ (การขายสิ่งของ/บริการ รัฐพาณิชย์ อื่น ๆ) • รายได้เงินนอกงบประมาณ

  5. รายจ่ายของรัฐ • เงินที่รัฐบาลนำออกใช้จ่ายในการบริหารราชการแผ่นดิน • แบ่งเป็น 3 ประเภท • รายจ่ายประจำ • รายจ่ายลงทุน • รายจ่ายชำระหนี้เงินกู้ • รายจ่ายเงินนอกงบประมาณ

  6. สินทรัพย์แผ่นดิน • อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์แผ่นดิน (ที่ราชพัสดุ) • แบ่งเป็น 2 ประเภท • ที่ดิน • อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

  7. หนี้สาธารณะ • หนี้ที่กระทรวงการคลัง หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู้ หรือหนี้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน แต่ไม่รวมถึงหนี้ที่รัฐวิสาหกิจทำธุรกิจให้กู้ยืมเงิน โดยกระทรวงการคลังมิได้ค้ำประกัน • แบ่งเป็น 2 ประเภท • หนี้ในประเทศ (ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ เสริมสภาพคล่อง) • หนี้ต่างประเทศ (พัฒนาประเทศ จัดซื้อยุทโธปกรณ์)

  8. เงินคงคลัง • เงินที่รัฐบาลมีไว้เพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน • แบ่งเป็น 3 ประเภท • บัญชีเงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทย (บัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1 และ 2) • เงินสด ณ กรมธนารักษ์ และสำนักงานคลังจังหวัด • อื่น ๆ บัญชีเงินฝากธนาคารพาณิชย์ บัตรภาษี

  9. ต้องบริหารการคลังภายใต้กฎหมายต้องบริหารการคลังภายใต้กฎหมาย • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • พรบ.เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 • พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • พรบ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 • พรบ.การบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 • กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

  10. ม.83 นโยบายด้านเศรษฐกิจ ดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.84 รัฐต้องควบคุมให้มีการรักษาวินัยการเงินการคลัง เพื่อสนับสนุนเสถียรภาพและความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ ม.190 การทำข้อตกลง/สัญญา กับต่างประเทศที่กระทบต่อ งบประมาณการเงินการคลัง ต้องขออนุมัติสภา ม.166 การใช้เงินแผ่นดินตามปกติต้องทำเป็นงบประมาณ พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี/ พรบ.งบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าไปพลางก่อน ม.167 วรรคแรก การจัดทำร่าง พรบ.งปม.ประจำปี ต้องมีเอกสารประกอบแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องทุกด้าน ครบถ้วน อดีต/ปัจจุบัน/ภาระอนาคต วรรคสอง งบกลางใน พรบ.งบประมาณประจำปี มีได้ในกรณีใด/เหตุผล วรรคสาม ให้มี กฎหมายการเงินการคลัง เป็นกรอบรักษาวินัยการเงินการคลัง ม.168 การพิจารณาร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ของ สส.และ สว. มีกระบวนการอย่างไร วิเคราะห์/เงื่อนไข/ระยะเวลา ม.169 วรรคแรก การจ่ายเงินแผ่นดินทุกกรณี (ปกติ/ไม่ปกติ) ต้องมีกฎหมายรองรับ กรณีจ่ายจากเงินคงคลัง ต้องตั้งงบประมาณชดใช้ แบบมีแหล่งเงินหรือรายได้รองรับ วรรคสอง การโอนงบประมาณข้ามส่วนราชการทำได้ในกรณีสงคราม/ฉุกเฉิน วรรคสาม การโอนงบประมาณภายในส่วนราชการทำได้ แต่ต้องรายงานสภา ม.170 รายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องส่งคลัง (เงินนอกงบประมาณ) ส่วนราชการเจ้าของต้องรายงานต่อคณะรัฐมนตรี และการใช้จ่ายเงินต้องอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังโดยอนุโลม

  11. ภาพรวม การบริหารการคลังภายใต้รัฐธรรมนูญ กรอบวินัยการเงินการคลัง ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้แล้ว กรอบวินัยการเงินการคลัง ที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติไว้ ให้นำไปบัญญัติไว้ใน กฎหมายการเงินการคลัง

  12. ภาพรวม การบริหารการคลังภายใต้รัฐธรรมนูญ นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) การบริหารการคลัง (Fiscal Management) กรอบ วินัย การเงินการคลัง ปฏิบัติ รัฐบาล หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ ควบคุม ปฏิบัติ กรอบในการจัดหารายได้ กำกับการใช้จ่ายเงินตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และความเป็นธรรมในสังคม

  13. การบริหารการคลัง Fiscal Management รายรับ (รายได้+เงินกู้) รายจ่าย (วงเงิน/จ่ายจริง/เงินกัน) (Flow) ทรัพย์สินของรัฐ (ที่ราชพัสดุ) หลักทรัพย์ของรัฐ เงินคงคลัง (Stock) (Stock) (Stock) หนี้สาธารณะ (Stock)

  14. รายรับ(รายได้+เงินกู้) รายจ่าย(วงเงิน/จ่ายจริง/เงินกัน) เงินงบประมาณ/เงินนอกงบประมาณ เงินนอกงบประมาณฝากคลัง รายได้แผ่นดิน งบประมาณรายจ่าย ข้อยกเว้นไม่นำเงินส่งคลัง 2 6 7 3 เงินกู้ เงินนอก งบประมาณ (เสริมสภาพคล่อง) ชดใช้เงินคงคลัง 8 รายจ่ายจาก เงินคงคลัง 5 4 เงินกู้ 1 (ชดเชยการขาดดุล) เงินคงคลัง Flow + Stock

  15. ภาพรวม หลักการบริหารการคลังภายใต้กฎหมาย นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) การบริหารการคลัง (Fiscal Management) กรอบ หลักเกณฑ์ วินัย การเงินการคลัง หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ รัฐบาล ควบคุม ปฏิบัติ

  16. ภาพรวม+ต่อขยาย หน่วยงาน อิสระ ออกกฎหมาย/ระเบียบ/ ข้อบังคบ/คำสั่ง นำไปปฏิบัติในทำนองเดียวกัน หน่วยงานภายใต้กำกับรัฐบาล “พ่อ แม่” “ลูก”

  17. ภาพรวม+ต่อขยาย กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งงค์กรอิสระ กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งและยุบเลิกกองทุน/เงินทุน กฎหมายว่าด้วยภาษี อากรและค่าธรรมเนียม พรบ.เงินคงคลัง พรบ.วิธีการงบประมาณ พรบ.ที่ราชพัสดุ พรบ.การบริหารหนี้สาธารณะ พรบ.ร่วมทุนฯ พรบ. ทุนรัฐวิสาหกิจฯ

  18. รายรับ - พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 4 - พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24

  19. ที่มาของเงินนอกงบประมาณที่มาของเงินนอกงบประมาณ มาตรา 24 มาตรา 4 พระราชบัญญัติ วิธีการงบประมาณ พระราชบัญญัติ เงินคงคลัง ข้อยกเว้น เงินนอกงบประมาณ

  20. เงินนอกงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ ที่หน่วยงานสามารถหามาได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาระบบงบประมาณ

  21. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 24 บรรดาเงินที่ส่วนราชการได้รับเป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ว่าจะได้รับตามกฎหมาย หรือระเบียบ ข้อบังคับ หรือได้รับชำระหนี้ตามอำนาจหน้าที่หรือสัญญา หรือได้รับจากการให้ใช้ทรัพย์สิน หรือเก็บดอกผลจากทรัพย์สินของทางราชการ ให้ส่วนราชการที่ได้รับเงินนั้นนำส่งคลังตามระเบียบหรือข้อบังคับที่รัฐมนตรีกำหนด เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดเป็นอย่างอื่น ส่วนราชการใดได้รับเงินที่มีผู้มอบให้โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ส่วนราชการนั้นใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี หรือได้รับเงินที่เกิดจากทรัพย์สิน ซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี ให้ส่วนราชการนั้นจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันภายในวงเงินที่ได้รับนั้นได้และไม่ต้องนำส่งคลัง มาตรา 170 เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและใช้จ่ายเงินดังกล่าว เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป การใช้จ่ายเงินรายได้ตามวรรคหนึ่งต้องอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังตามหมวดนี้ด้วย “หน่วยงานของรัฐ ในความหมายอย่างกว้าง”

  22. รายจ่าย - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 169 - พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 6 - 7 - พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 12– 30

  23. เงินคงคลัง ใช้จ่ายตาม รธน. มาตรา 169 ไม่ใช่เงินคงคลัง/เงินแผ่นดิน ? จึงไม่ต้องใช้จ่ายตาม รธน. มาตรา 169 การใช้จ่าย ?

  24. เงินนอกงบประมาณ เงินในงบประมาณ ใช้จ่ายตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายแต่ละฉบับ ความ เข้มงวด < / > ระเบียบเกี่ยวกับการเงิน ที่ได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง มาตรา 170 การใช้จ่ายเงินรายได้ตามวรรคหนึ่งต้องอยู่ ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังตามหมวดนี้ด้วย

  25. รายจ่ายจากเงินคงคลังต้องได้รับการชดใช้รายจ่ายจากเงินคงคลังต้องได้รับการชดใช้ รายได้แผ่นดิน รายจ่ายตามงบประมาณ รายได้ชดใช้เงินคงคลัง เงินกู้ รายจ่ายจากเงินคงคลัง เงินคงคลัง

  26. เงินกู้ - พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 9 ทวิ - พรบ. วิธีการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 มาตรา 21

  27. กรอบวินัยการคลัง รัฐธรรมนูญ กฎหมายการเงินการคลัง กฎหมายรายฉบับที่เกี่ยวข้อง

  28. เศรษฐกิจและการคลัง

  29. เศรษฐกิจและการคลัง ผลการดำเนินงาน ฐานะการคลัง

  30. นโยบายรัฐบาล แต่ละชุด

  31. เป้าหมายของนโยบายการคลังเป้าหมายของนโยบายการคลัง • บริหารหนี้สาธารณะ • ให้อยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง • บริหารสินทรัพย์เพื่อ • เป็นรายได้ • จัดสรรทรัพยากร • อย่างมีประสิทธิภาพ • กระจายรายได้ • ที่เป็นธรรม • สร้างความเจริญเติบโต • และรักษาเสถียรภาพ • ทางเศรษฐกิจ

  32. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลัง กระทรวงการคลัง กระทรวง กรม B A C K F R O N T ส่วนราชการ สรรพากร สรรพสามิต สศค. ศุลกากร บัญชีกลาง ธนารักษ์ สคร. บัญชีกลาง สบน. อื่นๆ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

  33. การควบคุมและประเมินผลการคลังการควบคุมและประเมินผลการคลัง ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน องค์กรนิติบัญญัติ ประชาชน ประชาชน องค์กรอิสระ รัฐบาล หน่วยงานกลาง กระทรวง กรม INTERNAL / EXTERNAL ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน

  34. ระบบงบประมาณ รายได้ รายจ่าย การบริหารการคลังระดับรัฐบาล บริการทาง การเงินการคลัง กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ทางการเงินการคลัง การบริหารการคลังระดับส่วนราชการ ส่วนราชการ เข้ามาใช้บริการ ส่วนราชการ นำไปปฏิบัติ การรับ-จ่ายเงินของรัฐมีความถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส เป็นประโยชน์ คุ้มค่า และตรวจสอบได้ WIN WIN

  35. พรบ.วิธีการงบประมาณ 2502 มาตรา 1 - 5 บทนำ คำนิยาม ผู้รักษาการ 1. อำนาจหน้าที่ของสำนักงบประมาณ 2. ลักษณะงบประมาณ สมดุล/เกินดุล/ขาดดุล 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4. การตั้งรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 5. งบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน 6. งบปะมาณรายจ่ายเพิ่มเติม 10. การควบคุมงบประมาณ - หลักเกณฑ์การเบิกจ่าย/เก็บรักษา/นำเงินส่งคลัง - วางระบบบัญชีให้ส่วนราชการปฏิบัติ - ประมวลบัญชีแผ่นดิน - เงินทดรองราชการ - เงินประจำงวดและการก่อหนี้ผูกพัน งบประมาณรายจ่าย - หลักเกณฑ์การนำเงินส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน และข้อยกเว้น - อำนาจในการกู้เงิน - งบประมาณรายจ่ายข้ามปี และการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี - เงินทุนสำรองจ่ายฉุกเฉิน - รายงานการเงินแผ่นดิน - บทกำหนดโทษ มาตรา 6 - 18 สำนักงบประมาณ ส่วนราชการ กระทรวงการคลัง มาตรา 19 - 20 มาตรา 21 - 30 7. การโอนงบประมาณข้ามส่วนราชการ 8. การโอน/เปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ 9. การใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบส่วนราชการ / งบกลาง

  36. กระบวนการงบประมาณ 1. นโยบายรัฐบาล เป้าหมายทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ประเทศ ( แผนบริหารราชการแผ่นดิน ) 8. ติดตามผลและประเมินผล 2. ยุทธศาสตร์กระทรวง / จังหวัด แผนกลยุทธ์หน่วยงาน โครงการ /ผลผลิต / ตัวชี้วัด ( แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการประจำปี ) 7. การดำเนินงาน 3. กรอบวงเงินงบประมาณ - รายจ่ายระยะปานกลาง วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี ( แผนงบประมาณ ) 6. ควบคุมและเบิกจ่ายงบประมาณ และรับเงินรายได้เข้าคลัง 4. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ( เกินดุล / สมดุล / ขาดดุล ) 5. บริหารงบประมาณ ข้อตกลงการปฏิบัติราชการ ประมาณการรายได้ - จัดเก็บรายได้ - นำเงินรายได้ส่งคลัง

  37. วงจรการจัดทำ บริหาร และควบคุมงบประมาณรายจ่าย แผนพัฒนาเศรษฐกิจ (5 ปี) นโยบายรัฐบาล สตง. คณะกรรมการจัดทำแผน MTEF (กค . สงป. ธปท. สศช.) 1. การจัดทำกรอบแผน MTEF ครม. อนุมัติ ตรวจสอบการใช้เงินของ ส่วนราชการ 11. การตรวจสอบภายนอก 2. การจัดทำแผนกลยุทธ์ ระยะปานกลาง (4 ปี) ส่วนราชการ ตรวจสอบการดำเนินงาน คณะกรรมการติดตามและ ประเมินผลการดำเนินงาน ของส่วนราชการ (กพร.) แปลงแผนย่อย 10. การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่วนราชการ 3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ และทำคำของบประมาณ สงป. ส่วนราชการ กระบวนการจัดทำ งบประมาณประจำปี ของส่วนราชการ กระบวนการบริหาร และควบคุม งบประมาณ 9. รายงานผลการดำเนินงาน รายงานผลการรับจ่ายเงิน กรมบัญชีกลาง - คณะกรรมการ ปรับปรุง ประสิทธิภาพ งานของราชการ (กพร.) - ส่วนราชการ 4. การจัดทำบันทึกข้อตกลง การปฏิบัติราชการ ส่วนราชการ 8. กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี กรมบัญชีกลาง 5. พิจารณาคำขอ งปม. ของ ส่วนราชการ ทำและเสนอร่าง พ.ร.บ. งปม.รายจ่ายประจำปี ส่วนราชการ 7.เบิก-จ่ายเงินงบประมาณ ตามที่ได้รับ จัดสรร และรับเงินรายได้เข้าคลัง สงป. กรมบัญชีกลาง 6. จัดสรร / โฮนเปลี่ยนแปลง เงินงบประมาณลง หน่วยเบิกจ่ายในสังกัด ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - วางกติกาทางการคลัง ให้ส่วนราชการปฏิบัติ - กฎหมาย/ระเบียบ - พัสดุ - บัญชี - ตรวจสอบภายใน - ให้บริการรับ-จ่ายเงินกับส่วนราชการ - บริหารเงินคงคลัง รัฐสภาพิจารณาอนุมัติและ สงป. จัดสรรเงินงบประมาณ ตามแผนการใช้จ่ายเงิน ให้ส่วนราชการ ส่วนราชการ

  38. ภาพรวมระบบการเงิน

  39. การรับเงินและนำเงินส่งคลังการรับเงินและนำเงินส่งคลัง GFMIS ม. 24 พรบ.วิธีการงบประมาณ ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ - กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำส่งเงินของส่วนราชการ นำเงินรายได้แผ่นดิน ส่งคลัง - ส่วนราชการนำเงินฝาก บัญชีเงินฝากกรมบัญชีกลาง หรือ สนง.คลังที่ KTB - กรมบัญชีกลาง/สนง.คลัง ตรวจสอบ/กระทบยอด การนำเงินส่งคลัง เงินคงคลัง บัญชีที่ 1 ส่วนราชการ - จัดเก็บเงินจากประชาชน ตามที่กฎหมายให้อำนาจ - เก็บรักษาเงินที่จัดเก็บได้ ในลักษณะเงินสด (เช็ค) หรือเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) รอไว้ เพื่อนำส่งคลังตาม วงเงินและระยะเวลา ที่กำหนด เงินรายได้แผ่นดิน (ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และรายได้อื่น ๆ ) นำเงินนอกงบประมาณ ฝากคลัง เงินนอกงบประมาณ บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ ส่วนราชการ นอกงบประมาณ นำเงินนอกงบประมาณ ฝากเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ของตนเอง (ได้รับอนุญาต)

  40. การเบิกจ่ายเงินจากคลังการเบิกจ่ายเงินจากคลัง GFMIS GFMIS พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี กฎหมายและระเบียบการคลัง ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงิน ผู้มีสิทธิ การได้ / เกิดสิทธิ การรับรองสิทธิ การอนุมัติ อัตรา / จำนวนเงิน (ภาคบังคับตามกฎหมาย และระเบียบการคลัง ได้รับอนุมัติกระทรวงการคลัง หรือดุลยพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการ) • หลักเกณฑ์การเบิกเงิน • กับกระทรวงการคลัง • ส่วนราชการวางฎีกา • ขอเบิกเงิน • กรมบัญชีกลาง/สนง. • คลังจังหวัด • - ตรวจฎีกา • - ลายมือชื่อผู้เบิก • - รายการขอเบิกถูกต้อง • ตามกฎหมาย/ระเบียบ • หรือมีคำรับรองของ • ผู้เบิก • - วงเงินงบประมาณ • เพียงพอ • - อนุมัติฎีกา • - สั่งจ่ายเงินคงคลัง • - โอนเงินเข้าบัญชี • เงินฝากธนาคาร เงินคงคลัง บัญชีที่ 2 บัญชีงบประมาณของส่วนราชการที่กระทรวงการคลัง วงเงิน (บาท) แผนงาน งาน/โครงการ xxxxxx งบบุคลากร xxxx งบดำเนินงาน xxxx งบลงทุน xxxx งบเงินอุดหนุน xxxx งบรายจ่ายอื่น xxxx บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ ส่วนราชการ ในงบประมาณ บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ เจ้าหนี้ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ บัญชีงบประมาณงบกลาง (กรมบัญชีกลางดูแล) บำเหน็จบำนาญ xxxx เงินช่วยเหลือ xxxx เงินสวัสดิการ xxxx อื่น ๆ xxxx จ่ายเงินจากบัญชี เงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ - อนุมัติการจ่าย - จ่ายเงิน - ตรวจสอบ - ทำ/ส่งงบเดือน พร้อมหลักฐาน การจ่ายให้ สตง. เจ้าหนี้ ผู้มีสิทธิ บัญชีงบประมาณงบกลาง (สำนักงบประมาณดูแล) เงินสำรองจ่ายฉุกเฉิน xxxx อื่น ๆ xxxx เงินนอกงบประมาณใช้แนวทางเดียวกันโดยอนุโลม

  41. การเก็บรักษาเงิน ธปท./ธนาคารพาณิชย์ บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับการจ่ายเงิน งบประมาณ เงินคงคลังที่ ธปท. บัญชีที่ 1 บัญชีที่ 2 (เงินคงคลัง ณ สนง.คลังจังหวัด บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับจัดเก็บและ นำส่งเงินรายได้แผ่นดิน (ถ้ามี) เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ นำส่งเงิน รายได้แผ่นดิน ประชาชน บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับการจ่ายเงิน นอกงบประมาณ เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ เงินสด/ เช็ค ประชาชน นำเงินนอกงบประมาณฝากคลัง บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับรับ-เก็บรักษา และนำฝากคลัง เงินสด/ เช็ค เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ

  42. การจัดซื้อจัดจ้าง ส่วนราชการ (ผู้ซื้อ) กรมบัญชีกลาง GFMIS บุคคลภายนอก (ผู้ขาย) ระเบียบพัสดุ -ทั่วไป -electronic 1 - แผนการจัดซื้อจัดจ้าง - อนุมัติให้ดำเนินการ 2 - เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง - แต่งตั้งกรรมการ ปฏิบัติตามในส่วนที่เกี่ยวข้อง e-Auction e-Shopping e-Bidding e-Market 3 • ดำเนินการซื้อ/จ้าง • -ได้ตัวผู้ขาย/ผู้รับจ้าง • (ไม่อยู่ใน Black list) 5 4 e-Government procurement - บันทึกสัญญา/ใบสั่งซื้อ เข้าระบบ - ทำสัญญา/ใบสั่งซื้อ - ผู้มีอำนาจลงนามในสัญญา/ ใบสั่งซื้อ - ส่งเอกสารให้ผู้ขาย 6 รับสัญญา/ใบสั่งซื้อ 7 ส่งของ/งาน และแจ้งหนี้ 8 9 บันทึกการตรวจรับเข้าระบบ ตรวจรับพัสดุ/งาน 10 12 ขอเบิกเงินจากคลัง รับการชำระเงินโดยวิธีการ โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร 11 จ่ายเงินให้ผู้ขาย

  43. กรมบัญชีกลาง (ผู้ดูแลระบบ) ส่วนราชการ (ผู้ใช้งาน) ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง (คู่สัญญา) ผู้สนใจทั่วไป ระบบประกาศ จัดซื้อจัดจ้าง ระบบจัดการเนื้อหา ราคากลางก่อสร้าง ระบบจัดการเนื้อหา ตามกฎหมายระเบียบ เกี่ยวกับพัสดุ ระบบลงทะเบียนสำหรับ หน่วยงานจัดซื้อภาครัฐ ระบบจัดการเนื้อหา ข่าวและกิจกรรม ระบบการเปิดเผยข้อมูล การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ระบบลงทะเบียนสำหรับ ผู้สนใจทั่วไป ระบบจัดการบัญชี รายชื่อผู้ทิ้งงาน EGP E-Government procurement ระบบจัดการรหัส สินค้าและบริการภาครัฐ GPSC ระบบHelpdesk ระบบจัดทำ เอกสารประมูล ระบบบริหาร ทะเบียนผู้ค้าภาครัฐ ระบบe-Auction ระบบแจกจ่าย เอกสารประมูล ระบบประมูลด้วย e-Auction ระบบลงทะเบียน ผู้ค้าภาครัฐ ระบบจัดเกรด ผู้ค้าภาครัฐ ระบบรับและ เปิดซองข้อเสนอ ระบบพิจารณา ข้อเสนอการประมูล

  44. การทำบัญชีการเงิน GFMIS - ดำเนินการให้ถูกต้องครบถ้วน ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง - ผู้จัดทำ ผู้ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ ลงลายมือชื่อในหลักฐาน เอกสาร/หลักฐาน ทางการเงินและบัญชี *สมุดบันทึกรายการขั้นต้น *ทะเบียน *บัญชีแยกประเภท บันทึกรายการบัญชี ประจำวัน รายงานการเงิน ประจำวัน ปิดบัญชี สิ้นเดือน/ปี งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย งบกระแสเงินสด

  45. กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ส่วนราชการ ระดับกรม องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ลักษณะพิเศษ หน่วยงานอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระอื่น ของรัฐ กองทุนเงินนอก งบประมาณ ส่วนราชการ ภูมิภาค เงินทุน/กองทุน นอกงบประมาณ หน่วยงานย่อย

  46. การทำบัญชีต้นทุน 3 Cost Allocation ค่าใช้จ่ายจาก ระบบบัญชี เกณฑ์คงค้าง หน่วยงานสนับสนุน (Support Cost Center) ค่าใช้จ่าย ทางตรง (Direct Cost) 4 Cost Allocation กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก Cost Allocation 2 ผลผลิต 1 กิจกรรมย่อย หน่วยงานหลัก (Functional Cost Center) กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม (Indirect Cost) กิจกรรมย่อย ผลผลิต 2 หน่วยงานหลัก (Functional Cost Center) กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย Cost Allocation 1

  47. นโยบายของรัฐบาล e-Government e - Government ส่วนราชการ การให้บริการประชาชน ตามภารกิจของส่วนราชการ แต่ละแห่ง การบริหารการเงิน - งบประมาณ - จัดซื้อ / จัดจ้าง - การเงิน (รับ-จ่ายเงิน) - การบัญชีและ รายงานการเงิน งานหลัก Front Office งานสนับสนุน Back Office Electronic (e-Service) GFMIS

More Related