1 / 83

7 Tools for New Product Planning

7 Tools for New Product Planning. 1) การสำรวจด้วยการสัมภาษณ์ 2) การสำรวจด้วยการสอบถาม 3) การวิเคราะห์ Positioning 4) การสร้างแนวความคิด 5) การคัดเลือกแนวความคิด 6) การวิเคราะห์ Conjoint 7) QFD. ขั้นตอนในการพัฒนาสินค้าใหม่. 1) ยึดกุม Need สำรวจด้วยการสัมภาษณ์ 1) Group Interview

della
Download Presentation

7 Tools for New Product Planning

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 7 Tools for New Product Planning • 1) การสำรวจด้วยการสัมภาษณ์ • 2) การสำรวจด้วยการสอบถาม • 3) การวิเคราะห์ Positioning • 4) การสร้างแนวความคิด • 5) การคัดเลือกแนวความคิด • 6) การวิเคราะห์ Conjoint • 7) QFD Sanmin-SCI Systems Thailand

  2. ขั้นตอนในการพัฒนาสินค้าใหม่ขั้นตอนในการพัฒนาสินค้าใหม่ • 1) ยึดกุม Need • สำรวจด้วยการสัมภาษณ์ 1) Group Interview 2) ใช้วิธีการ Grid การประเมิน • 2) พิสูจน์ Need • สำรวจด้วยแบบสอบถาม • 3) พิจารณาพื้นที่ของสินค้า • วิเคราะห์ Positioning Sanmin-SCI Systems Thailand

  3. 4) สร้างแนวความคิด • วิธีการสร้างแบบ Analogy • วิธีการสร้างแบบโฟกัส • Checklist • วิธีการสร้างแบบ Seeds • 5) สรุปแนวความคิด • วิธีการประเมินโดยให้น้ำหนัก • วิธีการประเมินโดยเปรียบเทียบ Sanmin-SCI Systems Thailand

  4. 6) กำหนด concept ที่เหมาะสมที่สุด • การวิเคราะห์ Conjoint • 7) เชื่อมโยงกับการออกแบบ • QFD • 8) ออกแบบ (ถ้ายังไม่ดี ให้กลับไปข้อ 7) • 9) ทำต้นแบบ/ประเมิน (ถ้ายังไม่ดี ให้กลับไปข้อ 7) • 10) ทดสอบตลาด (ถ้ายังไม่ดี ให้กลับไปข้อ 7) • ข้อ 8) – 10) สำรวจด้วยการสัมภาษณ์ • 11) วางแผนการผลิต และ แผนการขาย Sanmin-SCI Systems Thailand

  5. 12) ผลิตจำนวนมาก/วางจำหน่าย • 13) ประเมินตลาด • สำรวจด้วยแบบสอบถาม • เราจะคุยกันเฉพาะเรื่อง QFD เท่านั้น Sanmin-SCI Systems Thailand

  6. Hin Shitsu Ki No Ten Kai (Quality) (Function) (Deployment) Quality Function Deployment (QFD) Sanmin-SCI Systems Thailand

  7. โมเดลของคาโน (Kano’s Model) • ในการทำความเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้า โมเดลหนึ่งที่ควรทำความเข้าใจคือ โมเดลของคาโน ซึ่งสร้างขึ้นโดย ดร. คาโน ที่ปรึกษาด้านคุณภาพชาวญี่ปุ่น ซึ่งกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของลูกค้ากับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ดังรูปในหน้าถัดไป Sanmin-SCI Systems Thailand

  8. Kano’s model Sanmin-SCI Systems Thailand

  9. สิ่งที่ทำให้ลูกค้าไม่พอใจ (dissatisfiers) • เป็นคุณลัษณะทางคุณภาพที่ลูกค้าไม่ได้ให้ความสนใจ แต่ถ้าคุณลักษระดังกล่าวขาดหายไป ลูกค้าจะเกิดความไม่พอใจทันที คุณลักษณะทางคุณภาพประเภทนี้เป็นสิ่งที่ลูกค้ามักไม่เอ่ยถึง แต่คาดหวังว่าจะมีอยู่ในตัวผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างเช่น ความเรียบร้อยของผลิตภัณฑ์ คู่มือการใช้งาน ความน่าเชื่อถือ เป็นต้น • ดังนั้น สิ่งที่ทำให้ลูกค้าไม่พอใจจึงเป็นสมรรถนะพื้นฐานที่ต้องมีอยู่ในผลิตภัณฑ์ และอยู่ในความคาดหมายของลูกค้าโดยที่ไม่จำเป็นต้องกล่าวถึง แต่ถ้าสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป ลูกค้าจะเกิดความไม่พึงพอใจและจะร้องเรียนทันที Sanmin-SCI Systems Thailand

  10. สิ่งที่ทำให้ลูกค้าพอใจ (Satisfiers) • เป็นสิ่งที่ลูกค้าต้องการให้มีในผลิตภัณฑ์ ถ้าคุณลักษณะเหล่านี้มีมากขึ้น จะทำให้ลูกค้ามีความพึงพอใจมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ความเร็วสูงขึ้น ความจุมากขึ้น เป็นต้น สิ่งที่ทำให้ลูกค้าพอใจเป็นคุณลักษณะที่วัดได้ง่าย จึงเป็นสิ่งที่นิยมใช้ในการเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง Sanmin-SCI Systems Thailand

  11. สิ่งที่ทำให้ลูกค้าเบิกบานใจ (Delighters) • เป็นคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ทำให้ลูกค้ายินดีด้วยความประหลาดใจ คุณลักษณะทางคุณภาพเหล่านี้เป็นสิ่งที่ลูกค้าไม่สามารถเอ่ยถึงได้ เพราะเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือความคาดหมาย ดังนั้นถ้าคุณสมบัติเหล่านี้ขาดหายไป ลูกค้าจะไม่รู้สึกทางลบแต่อย่างใด ตัวอย่างเช่น ที่วางแก้วน้ำ ที่ใส่เศษสตางค์ในรถยนต์ เป็นต้น • ข้อสังเกตุ • ถ้าผู้ผลิตรถยนต์ทุกคันก็มีที่วางแก้วน้ำ ที่ใส่เศษสตางค์เหมือน ๆ กันทุกยี่ห้อแล้ว สิ่งเหล่านี้ก็จะไม่ทำให้ลูกค้าเบิกบานใจอีกต่อไป แต่จะกลายมาเป็นสิ่งที่คาดหวังว่า จะต้องมี ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า ความต้องการของลูกค้าเป็นสิ่งที่เพิ่มขึ้นตามการเวลา ผู้ผลิตจึงจำเป็นต้องติดตามความต้องการของลูกค้าอย่างใกล้ชิด Sanmin-SCI Systems Thailand

  12. เมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไป ความพึงพอใจของลูกค้าจะลดลง Sanmin-SCI Systems Thailand

  13. เสียงเรียกร้องจากลูกค้า (Voice of customer) • เสียงเรียกร้องจากลูกค้า คือ ถ้อยคำหรือคำพูดที่ออกมาจากลูกค้าโดยตรง เสียงจากลูกค้าสามารถแบ่งได้หลายชนิด เช่น ความต้องการที่แท้จริง คุณลักษณะทางกายภาพ หน้าที่ของผลิตภัณฑ์ ความน่าเชื่อถือ เป็นต้น • ข้อมูลเหล่านี้มักจะปนกันระหว่างความต้องการที่แท้จริง คุณลักษณะทางกายภาพ ข้อตำหนิ ข้อแนะนำ เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ แต่ข้อมูลหลักที่จะนำไปออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ คือ ความต้องการที่แท้จริงจากลูกค้า ผู้ออกแบบจึงต้องรุ้จักแยกแยะความต้องการของลูกค้าออกจากคำพูดอื่นและรู้จักค้นหาความต้องการของลูกค้าที่อาจซ่อนอยู่ใต้คำพูดบางอย่างด้วย • ขั้นตอนต่าง ๆ ควรเป็นดังนี้ Sanmin-SCI Systems Thailand

  14. 1) การรวบรวมเสียงเรียกร้องจากลูกค้า • 1) ใช้แบบสอบถาม • 2) การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Groups) • 3) การสัมภาษณ์ • 4) ข้อร้องเรียนของลูกค้า Sanmin-SCI Systems Thailand

  15. 2) ตีความ (เรียบเรียงข้อความให้ชัดเจน) • ใช้ข้อความที่ตอบคำถามว่า “ผลิตภัณฑ์นั้นทำอะไร” ไม่ใช่ “ผลิตภัณฑ์นั้นใช้วิธีการอย่างไร” • ใช้ข้อความละเอียดเท่ากับข้อมูลดิบ • ใช้ข้อความเชิงบวก จะทำให้เปลี่ยนเป็นข้อกำหนดเชิงนิคได้ง่ายกว่า • ใช้ข้อความที่แสดงถึงคุณลักษระของผลิตภัณฑ์ เพื่อเปลี่ยนเป็นข้อกำหนดเชิงนิคได้ง่าย • หลีกเลี่ยงคำว่า “ต้อง” หรือ “ควรจะ” เพราะจะทำให้เกิดการไบอัส Sanmin-SCI Systems Thailand

  16. 3) แยกประเภทเสียงเรียกร้องของลูกค้า • 1) ค่าเป้าหมาย • 2) ความน่าเชื่อถือ • 3) หน้าที่การทำงาน • 4) คุณลักษระทางคุณภาพ • 5) ความต้องการของลูกค้า Sanmin-SCI Systems Thailand

  17. 4) จัดระเบียบข้อมูลความต้องการของลูกค้า • วิธีที่นิยมใช้กันมี 2 วิธี คือ • 1) แผนภาพกลุ่มเชื่อมโยง หรือ Affinity Diagram • 2) แผนผังต้นไม้ หรือ Tree Diagram Sanmin-SCI Systems Thailand

  18. 5) กำหนดความสำคัญของความต้องการของลูกค้า • วิธีหาความสำคัญมี 3 วิธี คือ • 1) ความสำคัญแบบสัมบูรณ์ (Absolute Importance) • กำหนดสเกลการวัด เช่น 1 = ไม่สำคัญ 2 = สำคัญเล็กน้อย 3 = สำคัญปานกลาง 4 = สำคัญข่อนค้างมาก 5 = สำคัญมากที่สุด เช่น • ความต้องการของลูกค้า ความสำคัญ • A 4 • B 5 • C 5 • D 4 • E 3 Sanmin-SCI Systems Thailand

  19. 2) ความสำคัญแบบสัมพัทธ์ (Relative Importance) • กำหนดสเกล 1-100 (100 คือ สำคัญมากที่สุด) แล้วให้คะแนน • ความต้องการของลูกค้า ความสำคัญ • A 47 • B 56 • C 80 • D 65 • E 40 Sanmin-SCI Systems Thailand

  20. 3) ความสำคัญแบบเรียงลำดับ (Ordinal Importance) • กำหนดหัวข้อให้ก่อน แล้วจึงกำหนดตัวเลขไล่เลียงลำดับความสำคัญเข้าไป • ความต้องการของลูกค้า ความสำคัญ • A 1 • B 3 • C 5 • D 2 • E 4 Sanmin-SCI Systems Thailand

  21. การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ หรือ QFD (Quality Function Deployment) • กล่าวโดยกว้าง ๆ QFD คือ การฟังเสียงลูกค้าว่า ต้องการอะไร ( Hearing the customer voice ) นั่นหมายความว่า มันใช้แปล ความต้องการ (Needs) ความ อยากได้ (Wants) และ ความคาดหวัง (Expectations) ของลูกค้าซึ่งอยู่ในเทอม ของสิ่ง หรือข้อกำหนดที่ลูกค้าต้องการ(เป็นคำพูด) ให้เป็นแนวทาง หรือ การกระทำในเทอมของคุณสมบัติจำเพาะทางวิศวกรรม • นั่นหมายความว่า QFD ใช้เพื่อทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้า (the needs of the customer) และเปลี่ยนความต้องการของลูกค้าไปเป็น a set of design และ manufacturing requirements. • QFD เป็นกระบวนการเชิงระบบ(systematic process) สำหรับ motivating business เพื่อ focus ตรงไปยังความต้องการของลูกค้า Sanmin-SCI Systems Thailand

  22. นอกจากนั้น …… • QFD ช่วยในการออกแบบสินค้าให้สามารถแข่งขันได้ในตลาด ใช้เวลาการออก แบบน้อยกว่าปกติ และ ใช้ต้นทุนน้อยกว่า • QFD ใช้ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการแก้ไข (reactive)มาเป็นการควบคุม คุณภาพในเชิงป้องกัน(preventative manufacturing quality control) • ใช้ช่วยในการสร้าง closed loop of ever improving cost, quality, timeliness, productivity, profitability, and market share. Sanmin-SCI Systems Thailand

  23. ประวัติ • พัฒนาโดย Dr. Yoji Akano ซึ่งได้นำมาใช้ครั้งแรกในอู่ต่อเรีอของบริษัทมิตซูบิชิ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี ค.ศ. 1972 • จากนั้นบริษัทโตโยต้าได้นำมาประยุกต์ใช้จนกระทั่งแพร่หลายออกไป Sanmin-SCI Systems Thailand

  24. จากกราฟในรูปที่ผ่านมาจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ผลิตภัณฑ์ที่ทำ QFD ในขั้นตอนการออกแบบ จะมีปัญหาน้อยกว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ ได้ทำ QFD • โตโยต้าได้พบว่า ก่อนทำ QFDหลังจากผลิตภัณฑ์ถูกผลิตออกสู่ตลาด มีเสียงร้องบ่นเข้าอย่างมากมาย • หลังจากทำเทคนิค QFD มาใช้ พบว่า หลังจากผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดแล้ว เสียงร้องบ่นลดลงแสดงว่า QFD สามารถใช้แก้ปัญหา อันอาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ Sanmin-SCI Systems Thailand

  25. ก่อนและหลังทำ QFD ของ TOYOTA Sanmin-SCI Systems Thailand

  26. ประโยชน์ของ QFD สามารถสรุปได้ดังนี้ • 1 ) เป็นพลังขับดันจากลูกค้า ( Customer driven ) • โฟกัสตรงไปยังสิ่งที่ลูกค้าต้องการ • เป็นการใช้ข้อมูลที่ได้ไปในการแข่งขันอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ • เป็นการจัดลำดับความสำคัญของทรัพยากรที่มี • ช่วยแยกแยะสิ่งที่กระทำในอดีต • ช่วยจัดโครงสร้างของข้อมูล หรือ ประสบการณ์ที่มีอยู่ Sanmin-SCI Systems Thailand

  27. 2 ) ช่วยลดเวลาดำเนินการลง (Reduces implementation times) • ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในช่วงกึ่งกลางของการออกแบบ • ช่วยลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นในภายหลัง • ช่วยลดปัญหาที่จะต้องออกแบบซ้ำ ๆ ไม่จบสิ้นในภายหลัง • ช่วยแยกแยะการนำไปใช้งานในอนาคต • ช่วยลดการตั้งข้อสมมติฐานอย่างผิวเผิน Sanmin-SCI Systems Thailand

  28. 3 ) สนับสนุนการทำงานร่วมกัน (Promotes teamwork) • เน้นการร่วมมือกันทำงานระหว่างหลาย ๆ แผนก • พัฒนาการสื่อสารภายในองค์กร • ช่วยแยกแยะกระบวนการที่เกิดขึ้นในการร่วมมือกัน • ช่วยสร้างรายละเอียดของภาพพจน์ในวงกว้าง Sanmin-SCI Systems Thailand

  29. 4 ) ง่ายต่อการทำเอกสาร • ช่วยให้จัดทำเอกสารสำหรับออกแบบได้ง่าย • ง่ายต่อการตรวจสอบเมื่อออกแบบเสร็จสิ้น • ข้อมูลต่าง ๆ ถูกเก็บอย่างเป็นระบบทำให้ง่ายต่อการค้าหา และทำ ความเข้าใจ • สะดวกในการเปลี่ยนแปลง • สะดวกต่อการวิเคราะห์ส่วนที่ผิดพลาดได้ง่าย Sanmin-SCI Systems Thailand

  30. โครงสร้างของ House of Quality (HOQ) • โดยพื้นฐานแล้วจะเหมือนกับบ้านมี • กำแพงด้ายซ้าย (CustomerRequirement) • กำแพงด้านขวา (Prioritize Customer Requirement) • เพดานห้อง (Technical Descriptors) • หลังคาบ้าน (Interrelationship between technical descriptors) • พื้นห้อง (Prioritized technical descriptors) Sanmin-SCI Systems Thailand

  31. ความสัมพันธ์ของแต่ละส่วนความสัมพันธ์ของแต่ละส่วน • ด้านซ้ายเป็นสิ่งที่ลูกค้าคาดหวังว่าจะได้จากผลิตภัณฑ์ ( voice of customer ) • ด้านขวาเป็นการจัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่ลูกค้าต้องการ ( planning matrix ) แยกออกเป็นหมวดหมู่ เช่น การทดสอบของลูกค้า การให้คะแนน จุดขาย เป็นต้น • เพดาน (หรือชั้นสอง) เป็นรายละเอียดเชิงเทคนิค (Technical descriptor หรือ voice of the organization) ที่สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ในเชิงคุณสมบัติจำเพาะ ข้อกำหนด การออกแบบ ตัวแปรต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรม • ภายในห้องเป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการของลูกค้าและราย ละเอียดเชิงเทคนิค หรือกล่าวง่าย ๆ ว่าเป็นการแปลความต้องการของลูกค้า ให้เป็น คุณสมบัติจำเพาะทางวิศวกรรม Sanmin-SCI Systems Thailand

  32. หลังคาของบ้านใช้แสดงความสัมพันธ์ภายในระหว่างรายละเอียดทางเทคนิค ต่าง ๆ เป็นการนำเสนอความเหมือนกัน ความแตกต่างในเชิงเทคนิคของราย ละเอียดที่กำหนดขึ้น • พื้นบ้านเป็นรายละเอียดเชิงเทคนิคที่ถูกจัดลำดับความสำคัญ ตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบกับคู่แข่ง อัตราความยากง่าย คุณค่าของจุดมุ่งหมาย Sanmin-SCI Systems Thailand

  33. โครงสร้างของ House of Quality เพิ่มเติม เพิ่ม เพิ่ม Sanmin-SCI Systems Thailand

  34. ความสัมพันธ์ของแต่ละส่วนความสัมพันธ์ของแต่ละส่วน Sanmin-SCI Systems Thailand

  35. ถ้าแยกออกให้ละเอียดขึ้นโครงสร้างพื้นฐานของ QFD จะเป็นดังรูปขวามือ ซึ่งถือว่า เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สุดในการทำ QFD Sanmin-SCI Systems Thailand

  36. ตัวอย่างของแมตตริก ของบ้านแห่งคุณภาพ แบบพื้นฐาน Sanmin-SCI Systems Thailand

  37. วิธีการทำและรายละเอียดต่าง ๆ • หัวข้อต่อไปลองมาดูนิยาม รายละเอียดและขั้นตอนการทำ QFD แบบง่าย ๆ Sanmin-SCI Systems Thailand

  38. ก่อนทำ Sanmin-SCI Systems Thailand

  39. QFD ที่ทำเสร็จ แล้ว Sanmin-SCI Systems Thailand

  40. เริ่มจากผนังบ้านด้านซ้าย (What does the customer want?) • ปัจจัยป้อนเข้าก็คือข้อมูลที่เป็น Voice of Customer • Voice of Customer ก็คือ ความต้องการของลูกค้าในเชิงคำพูด ความคิด จินตนาการ ข้อมูลจะอยู่ในเชิงบอกเล่า ความคิดเห็น • การรับฟัง (การเก็บข้อมูล) จะต้องมั่นใจว่า ข้อมูลที่ได้ถูกต้อง ชัดเจน ไม่คลุมเครือ ลูกค้าควรกำหนดคุณภาพที่ต้องการด้วยภาษาของเขาเอง • การกำหนด voiceof customer ถือเป็นขึ้นตอนที่กินเวลามากที่สุดในการทำ QFD • การ Capture ทำได้โดยใช้ Requirements Engineering techniques. Sanmin-SCI Systems Thailand

  41. การเปลี่ยนจาก VOC to What • Voice of Customer สามารถหาข้อมูลได้หลายทางด้วยกัน เช่น • การพูดคุย • การใช้แบบสอบถาม • การร้องบ่น • ฯลฯ • VOC มักจะเป็นคำพูด ข้อความ ความรู้สึก ดังนั้นเมื่อได้ข้อมูลแล้ว สิ่งที่จะทำต่อไปคือ จับกลุ่มข้อมูลโดยใช้ Affinity diagramซึ่งเรา ศึกษากันมาแล้วในช่วงที่ผ่านมา Sanmin-SCI Systems Thailand

  42. VOC What Affinity Diagram จาก VOC มาสู่ Affinity Diagram เพื่อให้ได้ What Sanmin-SCI Systems Thailand

  43. ตัวอย่าง • สมมติว่า เราต้องการทราบขอบเขตของปัญหาในการผลิต rock-climbing harness จึงได้ตั้งกลุ่มขึ้นมา และออกสอบถามกับนักปีนเขาจำนวนหนึ่ง เกี่ยวกับความต้องการของ good climbing harness หลังจากพบปะพูดคุยแล้ว เราได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ดังนี้ • น้ำหนักเบา (lightweight) • ใส่สบาย (comfortable) • สวยงาม น่าใช้ (attractive) • ปลอดภัย (safe) • ไม่ขัดขวางการเคลื่อนไหว (does not restrict movement) • เหมาะกับเสื้อผ้าหลาย ๆ แบบ (fits over different clothes) • มีห่วงร้อย (has accessible gear loops) Sanmin-SCI Systems Thailand

  44. Rock Climbing Harness Sanmin-SCI Systems Thailand

  45. จับ VOCมาทำเป็นบัตรข้อมูลของ Affinity Diagram • lightweight • comfortable • attractive • safe • does not restrict movement • fits over different clothes • has accessible gear loops Sanmin-SCI Systems Thailand

  46. ทำ Affinity Statement กำหนดหัวข้อใหญ่เป็น Facilitates Climbing Sanmin-SCI Systems Thailand

  47. รวมอีกครั้งเพื่อให้ได้หัวข้อใหญ่รวมอีกครั้งเพื่อให้ได้หัวข้อใหญ่ • ในที่นี้สมมุติว่า กำหนดหัว ข้อใหญ่เป็น Facilitate Climbing ซึ่งประกอบด้วย สามหัวข้อรอง คือ • Usability • Performance • Attractive Sanmin-SCI Systems Thailand

  48. จะได้ Affinity Diagram ออกมาดังรูป Sanmin-SCI Systems Thailand

  49. จาก Affinity มาสู่ Tree Diagrams Sanmin-SCI Systems Thailand

  50. แปลงเป็น Tree Diagram จัดทำเป็นตาราง Sanmin-SCI Systems Thailand

More Related