1 / 28

หน่วยที่

หน่วยที่. 14. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์. และ. การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์. 14.1. เชิงเส้นอย่างง่าย. 14.2. การวิเคราะห์การถดถอย. เชิงเส้นอย่างง่าย. ตอนที่. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์. 14.1. เป็นการตรวจหาหรือตรวจสอบ. ระดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดย.

delila
Download Presentation

หน่วยที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 14 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และ การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย

  2. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ 14.1 เชิงเส้นอย่างง่าย 14.2 การวิเคราะห์การถดถอย เชิงเส้นอย่างง่าย ตอนที่

  3. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ 14.1 เป็นการตรวจหาหรือตรวจสอบ ระดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดย ไม่สนใจว่าตัวแปรใดเป็นเหตุและตัวแปรใด เป็นผล

  4. การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่ายการวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างง่าย กรณีที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรสองตัวเรียกว่า และถ้าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สองตัวเป็นแบบเส้นตรงจะเรียกว่า

  5. แผนภาพการกระจาย (scatter diagram) การสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สามารถทำได้โดยนำค่าข้อมูล ของตัวแปรแต่ละคู่ที่สังเกตได้มาลงจุดบน ระนาบ xy แผนภาพที่ได้จากการนำค่า ข้อมูลมาลงจุดเรียกว่า

  6. y y y y y y x x x x x x

  7. n xy– ( x) (y) r= n( x2) (x)2 n( y2)– (y)2 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างง่าย(r) เป็นค่าที่ใช้วัดระดับความสัมพันธ์ เชิงเส้นระหว่างตัวแปร X และตัวแปร Y สำหรับข้อมูลตัวอย่างที่รวบรวมไว้ ค่า -1 r  1

  8. ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ แห่งหนึ่งต้องการทราบว่า จำนวนพนักงาน ของบริษัท กับยอดขายของบริษัทมีความ สัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด โดยบริษัทเก็บ ข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี ดังตาราง

  9. วิธีทำ 10 (800.62)– (268)(27.73) r= nxy– (x) (y) r= 10(7668)–(268)2 10(83.8733)–(27.73)2 n(x2)– (x)2 n(y2)– (y)2 จากสูตร = 0.99

  10. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ มีค่าเป็นบวกและมีค่าเท่ากับ 0.99 แสดงว่า จำนวนพนักงานขายบริษัทแห่งนี้มีความ สัมพันธ์กับยอดขาย ของบริษัทไปในทิศทาง เดียวกันและมีความ สัมพันธ์กันสูง

  11. ตัวอย่าง การทดสอบสมมุติฐานของ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างง่าย โรงพยาบาลแห่งหนึ่งได้คำนวณ ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจและ ความดันที่เกิดจากการคลายตัวของหัวใจจาก การวัดความดันโลหิตของนักศึกษา 14 คน ปรากฏว่าได้ค่า r= 0.658

  12. การทดสอบสมมุติฐานของ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงเส้นอย่างง่าย จงทดสอบนัยสำคัญทางสถิติของ r ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 พร้อมสรุปผลการทดสอบ

  13. วิธีทำ r n – 2 t= 1– r 0.65814– 2 = 1– (0.658) 1. กำหนดสมมุติฐาน H0 :  = 0 H1 :  0 2. กำหนดระดับนัยสำคัญในการทดสอบ 0.05 3. คำนวณค่าสถิติทดสอบ = 3.044

  14. ปลายหางโค้ง 2 ด้าน = 0.05 = 0.025 2 4. เปิดค่าวิกฤตจากตาราง t หน้า 322 ค่า  = 0.05 แต่เป็นการทดสอบสมมุติฐานสองทาง ดังนั้นค่า จึงหาร 2 พื้นที่

  15. บริเวณยอมรับ H0 tคำนวณ = 3.044 0.025 0.025 -  +  -tตาราง = -2.179 tตาราง = 2.179

  16. 5. ค่า tคำนวณ มากกว่าค่า tตาราง หรือตกอยู่ ในบริเวณวิกฤตดังนั้นจึงสรุปได้ว่าปฏิเสธ สมมุติฐานว่าง(H0)ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 หรือกล่าวได้ว่าความดันที่เกิดจากการบีบตัว ของหัวใจและความดันที่เกิดจากการคลายตัว ของหัวใจมีความสัมพันธ์กันที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05

  17. การวิเคราะห์การถดถอย เชิงเส้นอย่างง่าย 14.2 สมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย เป็นการศึกษาอิทธิพลที่ตัวแปรหนึ่ง มีต่อตัวแปรอีกตัวหนึ่งโดยใช้ตัวแบบ ความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์สร้างสมการ เส้นตรงที่เป็นตัวแทนความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปรที่เรียกว่า

  18. ตัวแปรอิสระ 1 2 เช่น ระดับมลพิษในแม่น้ำ ตัวแปรตาม เช่น อัตราการตายของสัตว์ในแม่น้ำ ตัวแปรที่ศึกษาแบ่งเป็น 2 ประเภท

  19. ตัวอย่าง บริษัทผลิตฉนวนป้องกัน ไฟฟ้ารั่วแห่งหนึ่งกำลังทดลอง พัฒนาฉนวนกันไฟฟ้ารั่วชนิดใหม่ โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน ที่ต้องใช้ในการอัดวัสดุที่นำมาทำฉนวน (หน่วย: 10 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) กับขนาด ความหนาของฉนวน(หน่วยเป็น 0.1 นิ้ว) จากการทดลองให้บันทึกข้อมูลดังนี้

  20. คำนวณเอง

  21. y = b0 + b1 x n  (xy) – ( x)( y) b1 = n ( x2) – ( x)2 5 (37) – (15)(10) = 5 (55) – (15)2 b0 = y – b1x หาค่า b0และ b1เพื่อแทนค่าสมการ = 0.7 = 2 – (0.7)(3) = – 0.1

  22. สมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย คือ y = - 0.1+ 0.7x ค่าคงที่ b0เท่ากับ -0.1 หมายความว่า ถ้าแรงดันที่ใช้อัดวัสดุเท่ากับ 0 หรือถ้าไม่ใช้ แรงดันในการอัดวัสดุเลยความหนาของ ฉนวนจะเท่าเดิม ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย b1เท่ากับ 0.7 หมายความว่า ถ้าแรงดันที่ใช้

  23. อัดวัสดุเพิ่มขึ้น 10 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว ขนาดความหนาของฉนวนก็จะเพิ่มขึ้น 0.7 นิ้ว

  24.  (y – y)2 ค่า r2 = 1 –  (y – y)2 สัมประสิทธิ์แห่งการกำหนด (r2) คือ ผลรวมความแปรปรวนทั้งหมดใน y ที่อธิบายได้ด้วยเส้นถดถอย

  25. ตัวอย่าง สถานีดับเพลิงแห่งหนึ่ง คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกำหนด ของระยะห่างของสถานีที่เกิดเพลิงไหม้ กับสถานีดับเพลิงและมูลค่าความเสียหาย ที่เกิดขึ้นได้เท่ากับ 0.93 จงอธิบายความหมายของค่าดังกล่าว

  26. วิธีทำ ค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกำหนดเท่ากับ 0.93 หมายความว่า ความแปรปรวนทั้งหมด ของมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้น สามารถ อธิบายได้ด้วยเส้นถดถอย มีเพียงร้อยละ 7 ของความแปรปรวนทั้งหมดของมูลค่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นที่ไม่สามารถอธิบาย ได้ด้วยเส้นถดถอย

More Related