1 / 54

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์. BCOM1101 ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware). 2. ซอฟต์แวร์ (software). 3. บุคลากร ( peopleware ). 4. ข้อมูล (data) และสารสนเทศ (information). 5. กระบวนการทำงาน และคู่มือปฏิบัติงาน. Contents.

davis
Download Presentation

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ BCOM1101 ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

  2. 1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2 ซอฟต์แวร์ (software) 3 บุคลากร (peopleware) 4 ข้อมูล(data)และสารสนเทศ(information) 5 กระบวนการทำงานและคู่มือปฏิบัติงาน Contents

  3. แหล่งที่มา http://teacher.snru.ac.th/piyawan/admin/news/files/ch%202%20comsystem.ppt

  4. 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • เป็นอุปกรณ์ที่จับต้องได้ สัมผัสได้ มองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่อง (เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม) และที่ติดตั้งอยู่ภายนอก (เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์)

  5. 2. ซอฟต์แวร์ (software) • ส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคำสั่งเพื่อให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ โดยปกติแล้วจะถูกสร้างโดยบุคคลที่เรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (programmer) • เป็นองค์ประกอบทางนามธรรม ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้เหมือนกับฮาร์ดแวร์ • อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ • ซอฟต์แวร์ระบบ • ซอฟท์แวร์ประยุกต์

  6. 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • ทำหน้าที่ควบคุมระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ ระบบปฏิบัติการหรือ OS (OperatingSystem) มีทั้งที่ต้องเสียเงินอย่างเช่น Windows และให้ใช้ฟรี เช่น Linux เป็นต้น

  7. 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • ควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์โดยรวม • ตรวจสอบเมื่อมีการติดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ใดๆ • ช่วยให้การทำงานที่เกี่ยวข้องราบรื่น ไม่ติดขัด • ตรวจสอบและรายงานความผิดพลาดเกี่ยวกับระบบ • กำหนดสิทธิการใช้งาน และหน้าที่ต่างๆเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

  8. 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)d • ซอฟต์แวร์ที่สามารถติดตั้งได้ในภายหลังจากที่ ติดตั้งระบบปฎิบัติการแล้ว • ปกติมุ่งใช้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านบัญชี งานด้านเอกสารหรืองานควบคุมสินค้าคงเหลือ • อาจมีบริษัทผู้ผลิตทำขึ้นมาเพื่อจำหน่ายโดยตรง มีทั้งที่ให้ใช้ฟรี ซื้อทำเอง หรือจ้างเขียนโดยเฉพาะ

  9. ซอฟต์แวร์ (Software) ในประเทศไทย • เขตอุตสาหกรรมซอฟแวร์ • Software Park (www.swpark.or.th) แหล่งสนับสนุนการพัฒนาซอฟแวร์สำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก • สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวร์แห่งชาติ (SIPA-Software Industry Promotion Agency) www.sipa.or.th • ส่งเสริมให้คนไทยพัฒนาซอฟแวร์ไว้ใช้เอง • พัฒนาเพื่อการส่งออก นำรายได้เข้าประเทศ

  10. 3. บุคลากร (Peopleware) • บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์พอจำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ 3.1 ผู้ใช้งานทั่วไป 3.2 ผู้เชี่ยวชาญ 3.3 ผู้บริหาร

  11. 3.1 บุคลากร - กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป • ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User/EndUser) • เป็นผู้ใช้งานระดับต่ำสุด ไม่จำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมาก • อาจเข้ารับการอบรมบ้างเล็กน้อยหรือศึกษาจากคู่มือการปฏิบัติงานก็สามารถใช้งานได้ • บุคลากรกลุ่มนี้มีจำนวนมากที่สุดในหน่วยงาน • ลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป เช่น งานธุรการสำนักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (callcenter) เป็นต้น

  12. 3.1 บุคลากร - กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป

  13. 3.2 บุคลากร - กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3.2.1 ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์(Computer Operator/ComputerTechnician) 3.2.2 นักวิเคราะห์ระบบ (SystemAnalyst) 3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer) 3.2.4 วิศวกรซอฟต์แวร์ (SoftwareEnginering) 3.2.5 ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (NetworkAdministrator)

  14. 3.2 บุคลากร - กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3.2.1 ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์(ComputerOperator/ComputerTechnician) • มีความชำนาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ • มีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี • หน้าที่หลักคือ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ

  15. 3.2 บุคลากร - กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3.2.2 นักวิเคราะห์ระบบ (SystemAnalyst) • มีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานว่าต้องการระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานอย่างไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด • ออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่างๆทั้งหมดด้วย • มีการทำงานคล้ายกับสถาปนิกออกแบบบ้าน

  16. การทำงานของสถาปนิก การทำงานของนักวิเคราะห์ระบบ

  17. 3.2 บุคลากร - กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer) • ชำนาญเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามที่ตนเองถนัด • มีหน้าที่และตำแหน่งเรียกแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เช่น • webprogrammer • applicationprogrammer • systemprogrammer

  18. 3.2 บุคลากร - กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3.2.4 วิศวกรซอฟต์แวร์ (SoftwareEnginering) • ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมีแบบแผน • อาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น วัดค่าความซับซ้อนของซอฟท์แวร์ และหาคุณภาพของซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาได้ • มีทักษะและความเข้าใจในการพัฒนาซอฟต์แวร์มากพอสมควร • อยู่ในทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์กลุ่มเดียวกับนักเขียนโปรแกรมและนักวิเคราะห์ระบบ • พบเห็นได้กับการผลิตซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น การสร้างระบบปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรมเกมส์

  19. เปรียบเทียบการทำงานของวิศวกรซอฟต์แวร์เปรียบเทียบการทำงานของวิศวกรซอฟต์แวร์

  20. 3.2 บุคลากร - กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3.2.5 ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (NetworkAdministrator) • ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร • เกี่ยวข้องกับลักษณะงานด้านเครือข่ายโดยเฉพาะ เช่น การติดตั้งระบบเครือข่ายการควบคุมสิทธิของผู้ที่จะใช้งาน การป้องกันการบุกรุกเครือข่าย เป็นต้น • มีความชำนาญเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี และต้องมีทักษะในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที

  21. ลักษณะงานของผู้ดูแลเน็ตเวิร์กลักษณะงานของผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก

  22. 3.3 บุคลากร - กลุ่มผู้บริหาร • ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO – ChiefInformationOfficer) • ตำแหน่งสูงสุดทางด้านการบริหารงานคอมพิวเตอร์ในองค์กร • ทำหน้าที่กำหนดทิศทาง นโยบาย และแผนงานทางคอมพิวเตอร์ทั้งหมด • มักพบเห็นในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น • สำหรับในองค์กรขนาดเล็กอาจจะ ไม่มีตำแหน่งนี้

  23. 3.3 บุคลากร - กลุ่มผู้บริหาร • หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (ComputerCenterManager/InformationTechnologyManager) • มีหน้าที่ดูแลและกำกับงานทางด้านคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่ได้วางไว้โดย CIO • อาจต้องจัดเตรียมการบริการฝึกอบรม การให้คำปรึกษา คำแนะนำกับผู้ใช้งาน รวมถึงสร้างกฎระเบียบ มาตรฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ของบริษัทร่วมกันด้วย

  24. หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (ComputerCenterManager/InformationTechnologyManager) • อาจต้องจัดเตรียมการบริการฝึกอบรม การให้คำปรึกษา คำแนะนำกับผู้ใช้งาน รวมถึงสร้างกฎระเบียบ มาตรฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ของบริษัทร่วมกันด้วย

  25. 4. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) • การทำงานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การนำข้อมูลเข้า (data)จนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่าสารสนเทศ (information) • ข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆเช่น ภาพ เสียง เป็นต้น • ข้อมูลที่จะนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ ต้องแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน • สถานะหรือรูปแบบนี้เราเรียกว่า สถานะแบบดิจิตอล

  26. สถานะแบบดิจิตอล • มีเพียง 2 สถานะเท่านั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0) เหมือนกับหลักการทำงานของไฟฟ้า • อาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือที่เรียกว่า binarysystemเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 กับ 1

  27. สถานะแบบดิจิตอล

  28. สถานะแบบดิจิตอล • ตัวเลข 0 กับ 1 เราเรียกว่าเป็นตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต (binarydigit)มักเรียกย่อๆว่า บิต(bit)นั่นเอง • เมื่อบิตหลายตัวรวมกันจำนวนหนึ่ง (ขึ้นอยู่กับรหัสการจัดเก็บ) เช่น 8 บิต เราจะเรียกหน่วยจัดเก็บข้อมูลนี้ใหม่ว่าเป็น ไบต์ (byte)ซึ่งสามารถใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราต้องการป้อนข้อมูลเข้าไปในเครื่องแต่ละตัวได้

  29. สถานะแบบดิจิตอล • กลุ่มตัวเลขฐานสองต่างๆที่นำเอามาใช้นี้ จะมีองค์กรกำหนดมาตรฐานให้ใช้บนระบบคอมพิวเตอร์อยู่หลายมาตรฐานมาก • ที่รู้จักดีและเป็นนิยมแพร่หลายคือมาตรฐานของสถาบันมาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกา ที่เรียกว่า รหัสแอสกี (ASCII : AmericanStandardCodeforInformationInterchange)

  30. สถานะแบบดิจิตอล

  31. กระบวนการแปลงข้อมูล D D

  32. หน่วยวัดความจุข้อมูล ค่าโดยประมาณมีค่าใกล้เคียงกับ 1,000 และค่าอื่น ๆ เช่น MB มีค่าใกล้เคียง 1,000,000 จึงนิยมเรียกว่าเป็น kilo (ค่าหนึ่งพันหรือ thousand) และ mega (ค่าหนึ่งล้านหรือ million)

  33. หน่วยวัดความจุข้อมูล

  34. ตัวอย่างการคำนวณความจุตัวอย่างการคำนวณความจุ • ขนาดความจุฮาร์ดดิสก์ของผู้ขาย = 40 GB = 40 000 000 000bytes • เมื่อทำการ Format (ซึ่งใช้หน่วยวัดข้อมูลต่างกัน) จะได้ค่าใหม่ดังนี้ แปลงหน่วยเป็น KiB = 40 000 000 000 / 1024 =39 062 500 KiB แปลงหน่วยเป็น MiB = 39 062 500 / 1024 = 38 146.97265625 MiB แปลงหน่วยเป็น GiB = 38 146.97265625 / 1024 = 37.252902984619140625 GiB หรือประมาณ 37 GiB

  35. การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ข้อมูลต่างๆ ที่นำเข้าสู่คอมพิวเตอร์มีหลายรูปแบบ เช่น • ข้อมูลอักขระ (Character) ที่ประกอบไปด้วยเลขฐานสิบ (DecimalNumber) ตัวอักษร และสัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ เช่น $, %, *, ? • ข้อมูลสัญญาณอนาลอกเช่น ข้อมูลเสียง

  36. การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ • ข้อมูลภาพ ข้อมูลเหล่านี้เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถนำไปประมวลผลได้ เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์สร้างจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถรับรู้ได้เพียง 2 สถานะ คือ สภาวะกระแสไฟฟ้าเปิด/ปิด (on/off) ระบบสองสภาวะนี้เรียกว่า ระบบเลขฐานสอง (BinaryNumberSystem) โดยจะแทนสภาวะที่มีกระแสไฟฟ้าเปิดหรือมีกระแสไฟฟ้าด้วย 1 และการไม่มีกระแสไฟฟ้าด้วย 0 ซึ่งตัวเลข 0 และ 1 แต่ละตัวเรียกว่า บิต (Bit)

  37. ฐานตัวเลข

  38. เลขฐาน (Nr)

  39. การเปลี่ยนเลขฐาน 2, 8, 16เป็น เลขฐาน 10 • หลักการคือ นำเลขฐานต่าง ๆ โดยนำตัวเลขทางด้านขวามาตั้งและคูณด้วยตัวเลขฐานนั้น ๆ ยกกำลังเริ่มต้นด้วย 0 และเพิ่มค่าตัวเลขยกกำลังเรื่อย ๆ จนครบตัวเลขฐานทุกตัว แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้มาบวกรวมกัน จะมีค่าเท่ากับเลขฐาน 10

  40. การเปลี่ยนเลขฐาน 2, 8, 16 เป็น เลขฐาน 10 • พิจารณา เลขฐาน 10891010= (8x103) + (9x102) + (1x101) + (0x100).89110= (8x10-1) + (9x10-2) + (1x10-3) • เลขฐาน 2 เป็น ฐาน 10 (BinarytoDecimalConversion)110102= (1x24) + (1x23) + (0x22) + (1x21) + (0x20) = 2610.10112= (1x2-1) + (0x2-2) + (1x2-3) + (1x2-4) = .687510

  41. การเปลี่ยนเลขฐาน 2, 8, 16เป็น เลขฐาน 10 • เลขฐาน 8 เป็น ฐาน 10 (OctaltoDecimalConversion)72548= (7x83) + (2x82) + (5x81) + (4x80) = 375610.7258= (7x8-1) + (2x8-2) + (5x8-3) = 0.91601562510 • เลขฐาน 16 เป็น ฐาน 10 (HexadecimaltoDecimalConversion)8A416= (8x162) + (10x161) + (4x160) = 221210.BCE16= (11x16-1) + (12x16-2) + (14x16-3) = 0.737792968810

  42. การเปลี่ยนเลขฐาน 10 เป็น เลขฐาน 2, 8, 16 • หลักการคือ นำเลขฐาน 10 ตัวนั้นมาตั้ง หารด้วยเลขฐานที่ต้องการไปเรื่อย ๆ จนกว่าผลลัพธ์จะเป็น 0 • ในการหารแต่ละครั้งให้เก็บเศษไว้ เมื่อการหารสิ้นสุดแล้ว ให้นำเศษมาเรียงกันจากล่างขึ้นบนก็จะได้เลขฐานที่แปลงไป

  43. ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 594 297 148 74 37 18 9 4 2 1 59410 0 1 0 0 1 0 1 0 0 59410 =10010100102

  44. ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน 8 59410 594 74 9 1 8 8 8 2 2 1 59410=11228

  45. ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน 16 59410 16 16 594 74 2 2 5 59410=25216

  46. การจัดเก็บตัวเลขให้คอมพิวเตอร์การจัดเก็บตัวเลขให้คอมพิวเตอร์ • การแทนตัวเลขจำนวนเต็มไม่รวมเครื่องหมาย0000 0000 = 0 0000 0001 = 10010 1001 = 41 • การแทนตัวเลขจำนวนเต็มรวมเครื่องหมายจะกำหนดบิตแรก(ซ้ายมือสุด) เป็นตัวกำหนดเครื่องหมาย ถ้า 0 มีค่าเป็นบวก ถ้า 1 มีค่าเป็นลบ0001 0010 = 181001 0010 = -18

  47. การเก็บอักขระในคอมพิวเตอร์การเก็บอักขระในคอมพิวเตอร์ • EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) • ASCII (American Standard Code for Information Interchange) • UNICODE

  48. EBCDIC • พัฒนาโดย IBM • เป็นการแทนอักขระขนาด 8 บิต • ใช้บนเครื่องไอบีเอ็มเมนเฟรม และมินิคอมพิวเตอร์

  49. EBCDID

  50. ASCII • นิยมใช้กันมากในเครื่องพีซีทั่วไป • เดิมมีขนาด 7 บิต จึงเรียกว่า ASCII-7 ซึ่งแทนอักขระได้ 128 ตัว ซึ่งรองรับภาษาอังกฤษได้เท่านั้น • ต่อมาพัฒนาเป็น 8 บิต หรือ ASCII-8 ซึ่งแทนอักขระได้ 256 ตัว ทำให้รองรับภาษาได้มากขึ้น

More Related