1 / 181

การประยุกต์ใช้ไอที ในการศึกษา

การประยุกต์ใช้ไอที ในการศึกษา. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และประธานผู้บริหาร วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. Charm@ksc.au.edu. www.charm.au.edu.

davin
Download Presentation

การประยุกต์ใช้ไอที ในการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษาการประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และประธานผู้บริหารวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Charm@ksc.au.edu www.charm.au.edu เอกสารประกอบการบรรยายในโอกาสที่คณะวิชาบริหารธุรกิจ สาขางานการเลขานุการและสาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ตามนโยบายจัดการเรียนการสอนเสริมประสบการณ์จริง โดยการเรียนรู้นอกห้องเรียน วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551

  2. การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษาการประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา • บทนำ • งานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ระบบลงทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 4. เว็บ 2.0 และ อีเลิร์นนิ่ง 2

  3. การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา(ต่อ)การประยุกต์ใช้ไอทีในการศึกษา(ต่อ) • ชีวิตที่สอง • ไอพอดและไอวอด • อีเลิร์นนิ่งที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • สรุป 3

  4. 1. บทนำ ถึงต้นปี พ.ศ. 2551 ในสหรัฐอเมริกา • ไม่มีสาขาวิชาใดที่ไม่มีการใช้การสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง • มากกว่าร้อยละ 96 ของสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ (15,000 คนขึ้นไป) เปิดสอนอีเลิร์นนิ่งอย่างน้อย 1 วิชา • มากกว่าร้อยละ 66 ของสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ (15,000 คนขึ้นไป) เปิดสอนแบบอีเลิร์นนิ่งเต็มหลักสูตร 4

  5. บทนำ (ต่อ) • มากกว่าร้อยละ 80 ของสถาบันการศึกษาระดับปริญญาเอก เปิดสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง • ที่มหาวิทยาลัยคาเพลลา มีนักศึกษาระดับปริญญาเอกแบบอีเลิร์นนิ่งมากกว่านักศึกษาระดับปริญญาโทและตรี 5

  6. บทนำ (ต่อ) จากรายงานของ Global Industry Analysts, Inc. • พ.ศ. 2550ตลาดอีเลิร์นนิ่งในสหรัฐอเมริกาประมาณ 600,000 ล้านบาท • พ.ศ. 2553 ตลาดอีเลิร์นนิ่งทั่วโลก ประมาณ 1.8 ล้านล้านบาท 6

  7. บทนำ (ต่อ) อัตราการเจริญเติบโตของตลาดอีเลิร์นนิ่ง พ.ศ. 2551-2553 • เอเชีย ร้อยละ 25-30 ต่อปี • ทั่วโลก ร้อยละ 15-30 ต่อปี 7

  8. บทนำ (ต่อ) • ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker)ปรมาจารย์ด้านบริหารธุรกิจกล่าวว่า ยอดเงินค่าใช้จ่ายด้านอีเลิร์นนิ่งจะสูงกว่าด้านอีคอมเมิร์ซ • นิตยสารไทม์ กล่าวว่า ไม่เกิน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)มากกว่าครึ่งของการศึกษาจะใช้วิธีอีเลิร์นนื่ง • พ.ศ. 2551 มีนักศึกษามากกว่าครึ่งหนึ่งของรัฐฟลอริดาลงทะเบียนเรียนอีเลิร์นนิ่งอย่างน้อยหนึ่งวิชา 8

  9. บทนำ (ต่อ) มีข่าวจากจีนว่า • กว่า 600 มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนหรือกำลังเตรียมสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง • กว่า 500,000 โรงเรียนได้เปิดสอนหรือกำลังจะเปิดสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง 9

  10. บทนำ (ต่อ) • ขบวนรถไฟด้านอีเลิร์นนิ่งกำลังวิ่งไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วทั่วโลกฉะนั้น สถานศึกษาไทย ไม่ควรจะตกขบวนรถด่วนดังกล่าว 10

  11. 2. งานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.1 โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.2 ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2.3 นโยบายการบริการเข้าถึง 2.4 นโยบายการใช้งาน 11

  12. 2.1 โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • มีจุดเชื่อมต่อแลน ประมาณ 6,500 จุด- อาคาร“ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” 2,000 จุด- หอพัก 2,500 จุด- สุวรรณภูมิ 500 จุด- หัวหมาก 1,500 จุด 12

  13. โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต (ต่อ) • มีจุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย ประมาณ 82 จุด- หัวหมาก 50 จุด- สุวรรณภูมิ 32 จุด • มีโมเด็มเชื่อมต่อ 480 สาย 13

  14. โครงสร้างพื้นฐานด้านอินเทอร์เน็ต (ต่อ) • แบนด์วิธก่อนเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551- รวมแบนด์วิธทั้งหมด 64 เมกะบิตต่อวินาที- แบนด์วิธระหว่างประเทศ 36 เมกะบิตต่อวินาที • แบนด์วิธหลังเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551- รวมแบนด์วิธทั้งหมด 136 เมกะบิตต่อวินาที- แบนด์วิธระหว่างประเทศ 46 เมกะบิตต่อวินาที • การเชื่อมโยงระหว่างหัวหมากกับสุวรรณภูมิ 1 กิกกะบิต 14

  15. 2.2 ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต”มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • พ.ศ. 2546 “วันเน็ต (ONE NET)”คือการรวมตัวเป็นหนึ่งเดียวของการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศการบริการและการปฏิบัติงาน • พ.ศ. 2547 ถึงพ.ศ. 2548 การจัดการปัญหาในการปฏิบัติงานปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ง่ายและความท้าทายในการรับมือ 15

  16. ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • พ.ศ. 2549 ได้มีการติดตั้งระบบ“ดีอาร์(DR = Disaster Recovery)”คือระบบกู้คืนข้อมูลจากภัยพิบัติและสายใยแก้วระหว่างวิทยาเขตหัวหมากและบางนา 16

  17. ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • ระบบ“วันเน็ต”มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญประกอบด้วย- เครือข่ายและการทำงานอินเทอร์เน็ต (Networking & Internetworking)- การบริการจัดทำสารบบและการจัดการทรัพยากร สารสนเทศ (Directory Services & Resource Management) 17

  18. ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) - การบริการและศูนย์ข้อมูล (Services & Data Centers)- การรักษาความปลอดภัยและการควบคุม และป้องกันไวรัส (Security & Virus Protection and Control) 18

  19. ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • ระบบวันเน็ตทำให้เชื่อมโยงเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง และมีสภาพจราจรสัญญาณที่คล่องตัวทุกพื้นที่ของมหาวิทยาลัยอาทิ- ห้องเรียน- ห้องพักอาจารย์- หน่วยงาน- หอพักนักศึกษาเป็นต้น 19

  20. ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • มีระบบรักษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศอาทิ- ระบบตรวจจับการบุกรุก- กำแพงกันไฟเป็นต้น 20

  21. ความเป็นมาของระบบ “วันเน็ต” (ต่อ) • อัตราส่วนการให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยต่อสมาชิกผู้ใช้บริการ จากเดิมมีอัตราส่วนคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องต่อผู้ใช้บริการ 3 คนได้เพิ่มศักยภาพในให้บริการในอัตราส่วนผู้ใช้ 1 คนต่อคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง 21

  22. 2.3 นโยบายการบริการเข้าถึง • การบริการเครือข่ายในพื้นที่มหาวิทยาลัยได้ติดตั้งและจัดการการทำงานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในหน่วยงานทั้งหมดสำหรับเครือข่ายที่เชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่นสามารถส่งมัลติมีเดียไปยังเดสก์ทอปทั้งหมดของทั้งสองวิทยาเขต 22

  23. นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ)นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ) • การบริการเว็บแม่ข่ายแต่ละคนสามารถมีโอมเพจสาธารณะส่วนบุคคลบนเว็บแม่ข่ายบริการได้ผู้สนใจสามารถขอรับบริการที่มหาวิทยาลัย 23

  24. นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ)นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ) • การบริการอีเมล์ นักศึกษาแต่ละคนมีพื้นที่ว่างของดิสก์ 10 เมกกะไบต์อาจารย์และเจ้าหน้าที่จะมีพื้นที่ว่างของดิสก์50 เมกกะไบต์ 24

  25. นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ)นโยบายการบริการเข้าถึง(ต่อ) • การบริการระบบชื่อโดเม็นหรือ“ดีเอ็นเอส (DNS = Domain Name System)”มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีชื่อโดเม็นอาทิ- “เอยูดอตอีดียู (au.edu)”- “เอยูดอตเอซีดอตทีเอช (au.ac.th)”- “ทีเอชดอตอีดียู (th.edu)”- “ทีเอชดอตออร์ก (th.org)” เป็นต้น 25

  26. 2.4 นโยบายการใช้งาน • การรักษาความปลอดภัยเครือข่ายและนโยบายความเป็นส่วนตัว- ทางมหาวิทยาลัยจะให้สิทธิพิเศษใดๆ ในการเข้าถึงระบบข้อมูล ซึ่งคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ได้มีกำหนดขอบเขตความเป็นส่วนตัว ที่เป็นข้อมูลความลับ 26

  27. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • ระบบที่ถูกโจมตีจากระบบอื่นอาทิไวรัสหนอนไวรัส เป็นต้นจะถูกระงับการเชื่อมต่อเครือข่าย จนกว่าจะได้รับการรักษาความปลอดภัย • ผู้ใช้ที่พบความผิดพลาดของระบบรักษาความปลอดภัยจะต้องแจ้งให้ผู้บริหารระบบทราบเพื่อความปลอดภัย 27

  28. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • นโยบายการใช้เครือข่ายและเครื่องคอมพิวเตอร์- ห้ามฝ่าฝืนกฎระเบียนข้อบังคับในการใช้ระบบ เครือข่ายและเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย- ห้ามใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยในการ * เล่นเกมออนไลน์ * เล่นการพนัน * เผยแพร่สื่ออนาจาร * ใช้เพื่อการค้า 28

  29. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • นโยบายการใช้อีเมล์- ไม่อนุญาตให้ส่งอีเมล์หรือส่งต่ออีเมล์ ผ่านระบบของมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์ส่อไปทางละเมิด หรือฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือข้อบังคับทางกฎหมาย 29

  30. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - การส่งอีเมล์หรือข้อความออนไลน์ต่างๆรบกวน อาทิ * จดหมายลูกโซ่ * สื่อภาพอนาจาร * ข้อความก่อกวนหรืออีเมล์อื่นๆที่ไม่พึงประสงค์ เป็นต้น 30

  31. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - มหาวิทยาลัยสงวนสิทธิเฉพาะอีเมล์ ที่มีความเหมาะสมและปฏิเสธอีเมล์ขยะ และการเชื่อมต่อเครือข่ายจากแม่ข่ายข้างนอก- ผู้ใดละเมิดหรือฝ่าฝืนจะถูกระงับรายชื่อคอมพิวเตอร์ และการเข้าถึงเครือข่ายในช่วงระหว่างที่มีการสืบสวน และอาจจะถูกยกเลิกสิทธิในการใช้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 31

  32. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - นักศึกษาที่อาศัยภายในหอพัก ของมหาวิทยาลัยวิทยาเขตสุวรรณภูมิ อาจเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ตลอด ยกเว้นช่วงกลางวันจะเปิดโอกาสให้นักศึกษา ที่ไม่ได้อยู่ในหอ และอาจารย์มีสิทธิเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ก่อน 32

  33. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • กฎระเบียบในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสำหรับสมาชิก- การบริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา และการทำงานเป็นหลัก- ห้ามดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ที่มีความซับซ้อน ไปใช้งาน ทางมหาวิทยาลัยได้ติดตั้งบล็อก อัตโนมัติและมีเจ้าหน้าคอยดูแลการดาวน์โหลด ข้อมูลอย่างใกล้ชิด 33

  34. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) - คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและแบบพกพา ต้องได้รับการติดซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสหากติดไวรัสอาจถูกบล็อก จนกว่าจะได้รับการกำจัดไวรัส เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัย 34

  35. นโยบายการใช้งาน(ต่อ) • การพนันและการครอบครองภาพยนตร์อนาจาร ถือว่ากระทำผิดตามกฎหมายไทย ซึ่งต้องรับผิดชอบต่อการดำเนินคดี • - ห้ามผู้ใดที่พยายามหรือเจตนาโจมตี เจาะเข้าโปรแกรมข้อมูลหรือกระทำด้วยวิธีใดๆก็ตามที่เป็นสาเหตุให้การทำงานอินเทอร์เน็ต ของมหาวิทยาลัยถูกทำลาย 35

  36. 3. ระบบลงทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 3.1 โครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญ 3.2 ระบบลงทะเบียนมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 36

  37. 3.1 โครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญ 1) ระบบลงทะเบียน 2) ระบบกิจกรรมนักศึกษา 3) ระบบการเงิน 4) ระบบการบริหารจัดการ 5) ระบบทรัพยากรบุคคล 6) ระบบบัญชี 7) ระบบการจัดการห้องสมุด 37

  38. โครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญโครงสร้างระบบสารสนเทศหลักของอัสสัมชัญ 38

  39. 1) ระบบลงทะเบียน • มีระบบย่อยของระบบลงทะเบียน 12 ระบบ1) ค่าธรรมเนียมแรกเข้า2) ประวัตินักศึกษา3) ประวัติอาจารย์ผู้สอน4) ตารางสอน5) การลงทะเบียนล่วงหน้า6) การลงทะเบียน 39

  40. ระบบย่อยด้านการลงทะเบียน (ต่อ) 7) การยกเลิกวิชา 8) หลักสูตร9) ผลงานทางวิชาการ10) ใบรับรองการเรียน11) การจบการศึกษา12) ผลการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 40

  41. 2) ระบบกิจกรรมนักศึกษา • มีระบบย่อยของระบบกิจกรรมนักศึกษา 22 ระบบ1) โครงการของนักศึกษา2) โครงการต่างๆ 3) การปฏิบัติงาน4) งบประมาณ5) กิจกรรมนักศึกษา6) ระบบให้คำปรึกษา7) ระบบให้คำแนะนำ 41

  42. ระบบย่อยด้านกิจกรรมนักศึกษา (ต่อ) 8) การสนับสนุนการเรียนการสอน 9) ข้อบังคับของนักศึกษา10) จริยธรรม11) ระบบการประกัน12) สูญหายและค้นพบ13) การให้บริการการเรียนวิชารักษาดินแดน14) ศูนย์กีฬา15) ศูนย์นานาชาติ 42

  43. ระบบย่อยด้านกิจกรรมนักศึกษา (ต่อ) 16) ระบบยืม-คืน17) ระบบแนะแนวอาชีพ18) การจองสถานที่19) ประวัตินักศึกษา20) การสอบถามข้อมูล21) ระบบซ่อมบำรุง22) ระบบรักษาความปลอดภัย 43

  44. 3) ระบบการเงิน • มีระบบย่อยของระบบการเงิน 12 ระบบ1) ข้อมูลหลัก 2) ระบบจัดซื้อ3) ระบบตรวจรับ4) ระบบพัสดุ 5) ระบบทรัพย์สินถาวร 6) ระบบเจ้าหนี้ 44

  45. ระบบย่อยด้านการเงิน (ต่อ) 7) ระบบลูกหนี้ 8) ระบบการเงินรับ9) ระบบการเงินจ่าย10) ระบบบัญชี11) ระบบงบประมาณ12) ระบบการจัดการธุรกิจและทรัพย์สิน 45

  46. 4) ระบบการบริหารจัดการ • มีระบบย่อยของระบบการบริหารจัดการ 5 ระบบ1) ระบบเอกสาร 2) การตรวจสอบที่นั่งสอบ3) ระบบอำนวยความสะดวก4) การซ่อมบำรุงเครื่องยนต์5) การจัดการสิ่งของ 46

  47. 5) ระบบทรัพยากรบุคคล • มีระบบย่อยของระบบทรัพยากรบุคคล 7 ระบบ 1) ระบบลูกจ้าง 2) ระบบประวัติของลูกจ้าง3) ระบบการทำงานของพนักงาน4) ระบบหน่วยงานสังคมสงเคราะห์5) ระบบการรับสมัครงาน 6) ระบบการจัดฝึกอบรมและสัมมนา 7) ระบบทุนการศึกษา 47

  48. 6) ระบบบัญชี • มีระบบย่อยของระบบบัญชี 9 ระบบ1) ระบบบัญชี 2) สังคมสงเคราะห์และภาษี3) ผู้ควบคุมการสอบ4) การจ่ายเงินพิเศษ 48

  49. ระบบย่อยด้านบัญชี (ต่อ) 5) อัตราการสอน6) การจ่ายเงินภาคฤดูร้อน7) การจ่ายเงินผู้ช่วยอาจารย์8) เงินโบนัส9) การเลื่อนตำแหน่ง 49

  50. 7) ระบบการจัดการห้องสมุด • มีระบบย่อยของระบบการจัดการห้องสมุด 4 ระบบ1) หนังสือ 2) วารสาร 3) การยืม-คืน4) การค้นหาหนังสือ 50

More Related