1 / 59

แบบทดสอบวิทยากร

แบบทดสอบวิทยากร. กรุณาทำแบบทดสอบ ช่อง “ก่อนฟัง” เดี๋ยวนี้ หลังจากจบคำบรรยายแล้ว กรุณาทำแบบทดสอบ ช่อง “หลังฟัง” ให้เวลาประมาณ 10-15 นาที ผู้ช่วยวิทยากรจะขอรับแบบทดสอบคืนจากทุกท่าน เป็นเพียงการทดสอบความรู้ความเข้าใจของท่าน หลังจากรับฟังคำบรรยายจากวิทยากรเท่านั้น. สำนักงานคลังเขต 1 - 9

daria-parks
Download Presentation

แบบทดสอบวิทยากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แบบทดสอบวิทยากร • กรุณาทำแบบทดสอบ ช่อง “ก่อนฟัง”เดี๋ยวนี้ • หลังจากจบคำบรรยายแล้ว กรุณาทำแบบทดสอบ ช่อง “หลังฟัง” ให้เวลาประมาณ 10-15 นาที ผู้ช่วยวิทยากรจะขอรับแบบทดสอบคืนจากทุกท่าน เป็นเพียงการทดสอบความรู้ความเข้าใจของท่าน หลังจากรับฟังคำบรรยายจากวิทยากรเท่านั้น

  2. สำนักงานคลังเขต 1 - 9 สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

  3. บำเหน็จบำนาญข้าราชการบำเหน็จบำนาญข้าราชการ • ตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 • ตาม พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2527 • พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521

  4. การขอรับและการจ่าย เบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน ผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ (e-Pension) หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0420.9 / ว 53 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2552

  5. ผู้เกี่ยวข้อง ส่วนราชการ (ขอให้สั่งจ่ายและขอให้โอนเงินเข้าบัญชี) • ส่วนราชการผู้ขอ • นายทะเบียน • ส่วนราชการผู้เบิก • ผู้มีสิทธิรับเงิน กรมบัญชีกลาง (อนุมัติสั่งจ่าย และ โอนเงินเข้าบัญชี) • สำนักบริหารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ • สำนักงานคลังเขต 1-9

  6. กลุ่ม Administrator กรมบัญชีกลาง สำนักบริหารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ ผู้กำหนด รหัส ID และ PASSWORD เบอร์ตรง 02 273 9807 เบอร์กลาง 02 273 9024 ต่อเบอร์ 4249 หรือ 4296 หรือ 4507 เบอร์ FAX 02 273 9794 หรือ 02 273 9564 E - mail identify@cgd.go.th

  7. สอบถามวันที่โอนเงิน เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ได้ที่กรมบัญชีกลาง Call Center โทร. 0-2270-6400

  8. หมายเลขโทรศัพท์กลาง ของกรมบัญชีกลาง • 02 273 9024 • 02 271 0686 - 90 • 02 273 9613-4 http://www.cgd.go.th

  9. แบบคำขอรับเงิน • แบบขอรับเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จดำรงชีพ และ บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ (แบบ 5300) • แบบขอรับบำเหน็จตกทอด บำนาญพิเศษกรณีข้าราชการ ถึงแก่ความตาย (แบบ 5309) • แบบขอรับบำเหน็จลูกจ้าง (แบบ 5313) • แบบขอรับเงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง (แบบ 5401) • แบบขอรับเงินเพิ่ม (แบบ 5316) • แบบคำขอรับเงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกจากราชการฯ (แบบ ค.ก.ษ.)

  10. ผู้มีอำนาจลงนามในแบบคำขอรับเงินผู้มีอำนาจลงนามในแบบคำขอรับเงิน ผู้มีอำนาจลงนาม คือ • ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด อธิบดี อธิการบดี เลขาธิการ ผู้อำนวยการ • บุคคลอื่นลงนามแทน ต้องมีคำสั่งมอบอำนาจ ให้ปฏิบัติราชการแทน หรือรักษาราชการแทน

  11. ตัวอย่างการแปลชื่อตำแหน่งตัวอย่างการแปลชื่อตำแหน่ง (นาง...........................) นักวิชาการคลังชำนาญการ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการ.............................. ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรม........................

  12. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับปฏิบัติงาน - ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับหัวหน้างาน หรือ ผู้ได้รับมอบหมาย ข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประจำ หรือช่วยราชการที่ส่วนราชการผู้ขอ นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ซึ่งดำรงตำแหน่งประจำ ที่ส่วนราชการผู้ขอ (เป็นตำแหน่งที่ช่วยราชการไม่ได้) ส่วนราชการผู้ขอ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับปฏิบัติงาน ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ

  13. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับปฏิบัติงาน ซึ่งเป็น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ระดับหัวหน้างาน หรือผู้ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็น ข้าราชการ ซึ่งดำรงตำแหน่งประจำ หรือช่วยราชการ ที่ส่วนราชการผู้เบิก ส่วนราชการผู้เบิก

  14. นายทะเบียน นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ ดูแลทะเบียนประวัติ ของข้าราชการและลูกจ้างประจำ และครอบครัว นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ ดูแลทะเบียนประวัติ ของผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และครอบครัว ส่วนราชการผู้เบิก • เงินเดือน ค่าจ้าง • ค่ารักษาพยาบาล ส่วนราชการผู้เบิก บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน ค่ารักษาพยาบาล

  15. ผู้มีสิทธิรับเงินข้าราชการผู้มีสิทธิรับเงินข้าราชการ ลาออก ให้ออก ปลดออก เกษียณอายุ ข้าราชการ ถูกลงโทษไล่ออก ไม่มีสิทธิได้รับเงิน บำเหน็จบำนาญ บำเหน็จบำนาญปกติ

  16. บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จ หรือ บำนาญ • เหตุทดแทน • เหตุทุพพลภาพ • เหตุสูงอายุ (เกษียณอายุ) • เหตุรับราชการนาน หรือ มาตรา 48 • มาตรา 17 หรือ มาตรา 47

  17. เกษียณอายุ 1 ตุลาคม 2553 • สำหรับท่านที่เกิด วันที่ 2 ตุลาคม 2492 – 1 ตุลาคม 2493 • ทำเรื่องขอรับบำเหน็จบำนาญล่วงหน้าได้ ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 เป็นต้นไป (ล่วงหน้า 8 เดือน)

  18. ข้าราชการถูกฟ้องล้มละลายข้าราชการถูกฟ้องล้มละลาย • เป็นผู้ที่ขาดคุณสมบัติของการเป็นข้าราชการ (ต้องห้าม) • ทางราชการสั่งให้ออกจากราชการ • ได้รับบำเหน็จบำนาญ เหตุทดแทน • บันทึกบัญชีเงินฝากธนาคารของ กรมบังคับคดี(เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์)

  19. ข้าราชการตายก่อนได้รับเงินข้าราชการตายก่อนได้รับเงิน • ทายาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยมรดก • โอนเงินเข้าบัญชีของผู้จัดการมรดก หลักฐานของผู้จัดการมรดก -สำเนาคำสั่งศาลเรื่องการแต่งตั้งผู้จัดการมรดก -สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้จัดการมรดก -สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้จัดการมรดก

  20. ผู้มีสิทธิรับเงินถูกอายัดทรัพย์(อายัดได้ทุกประเภทเงิน)ผู้มีสิทธิรับเงินถูกอายัดทรัพย์(อายัดได้ทุกประเภทเงิน) • สำเนาคำพิพากษาของศาลในคดีล้มละลายหรือชำระค่าอุปการะเลี้ยงดู หรือค่าเลี้ยงชีพในคดีเยาวชนและครอบครัว • สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมบังคับคดี หรือสำนักงานบังคับคดี ที่ใช้ในระบบ GFMIS • โอนเงินเข้าบัญชีของกรมบังคับคดี หรือสำนักงานบังคับคดี ทั้งจำนวน (หลังจากหักภาษีแล้ว) • หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.4/ว 29 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2548 • ห้าม ส่วนราชการหักหนี้จากผู้ที่ถูกอายัดทรัพย์

  21. การเสียสิทธิรับบำนาญ การเสียสิทธิรับบำนาญในกรณี 1. กระทำความผิดถึงต้องโทษจำคุก 2. เป็นบุคคลล้มละลายทุจริต ตามกฏหมายว่าด้วยล้มละลาย ยกเลิกแล้ว ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2551

  22. การส่งเอกสาร / หลักฐาน • แบบ 5300 • สมุดประวัติ / แฟ้ม ก.พ.7 (วัน เดือน ปี เกิด บันทึกข้อมูลตามสมุด / แฟ้มประวัติ) • คำสั่งให้ออก / ลาออก /ปลดออก • ประกาศเกษียณอายุ

  23. บำเหน็จดำรงชีพ • ขอครั้งแรก ใช้แบบ 5300 • ขอครั้งที่สอง ใช้แบบ 5316 • แบบ สรจ.3 ไม่ต้องส่ง (ให้เก็บเอาไว้) • บำเหน็จดำรงชีพอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์เมื่อไร ขอได้ทันที • ไม่ต้องรอให้ถึงวันที่ 1 ตค. - 31 ธค. ของแต่ละปี • ไม่หักหนี้จากบำเหน็จดำรงชีพ

  24. การขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนบุคคลการขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนบุคคล ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ ติดต่อขอเปลี่ยนแปลงที่ส่วนราชการผู้เบิก • รายการลดหย่อนภาษี (แบบ สรจ.1) • บัญชีเงินฝากธนาคาร (ห้ามใช้บัญชีเงินฝากประจำ) • ที่อยู่ (Address) • ขอโอนเบี้ยหวัด บำนาญ ไปยังสำนักเบิกแห่งใหม่ (แบบ สรจ.11) • ถึงแก่ความตาย(แบบ สรจ.12)

  25. แบบ สรจ.11 และ สรจ.12 กรมบัญชีกลาง • ได้รับแบบ สรจ.11 และ สรจ.12 จากส่วนราชการผู้เบิก • โอนย้ายฐานข้อมูลผู้รับบำนาญจากส่วนราชการผู้เบิกหนึ่ง ไปอีก ส่วนราชการผู้เบิกหนึ่ง หรือ จากจังหวัดหนึ่งไปอีกจังหวัดหนึ่ง • งดเบิก • ส่งคืน แบบ สรจ.11 และ สรจ.12 ให้ส่วนราชการผู้เบิก ส่วนราชการผู้เบิก เมื่อได้รับ แบบ สรจ.11 และ แบบ สรจ. 12 กลับจากกรมบัญชีกลางแล้ว ให้แจ้งไปยัง นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญทราบ นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ บันทึกการย้ายส่วนราชการผู้เบิก และ การหมดสิทธิรับบำนาญ ลงในทะเบียนประวัติ ของ ผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ

  26. การส่งข้อมูลการขอเบิกเงิน - ส่วนราชการผู้เบิก • หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิก หรือผู้ได้รับมอบหมาย ใช้ Password ระดับหัวหน้างาน ส่งข้อมูลการขอเบิกเงินผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ ไปให้กรมบัญชีกลาง (สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ) • ภายในเวลาที่กำหนด • เปิดรอบ ปิดรอบ

  27. คุณเป็นคนขี้ลืมหรือเปล่าคุณเป็นคนขี้ลืมหรือเปล่า • Memeory วันที่ เดือน พ.ศ. (ในแต่เดือน) เพื่อเตือนความจำเรื่องปิดรอบ รายเดือน • โทรศัพท์มือถือ (ของเราเอง) • ใช้เสียงเตือนเหมือนนาฬิกาปลุก • เปิดดูแล้วคุณจะรู้ว่า วันนี้คุณต้องทำอะไรบ้าง • อย่าลืม “ปิดรอบ”

  28. การหักหนี้จากเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0420.9 / ว 206 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2552 แบบ สรจ.6 สรจ.7 และ สรจ.9 • หักหนี้จากเบี้ยหวัด บำนาญ ดำเนินการทุกเดือน • หักหนี้จากบำเหน็จของข้าราชการและลูกจ้าง บันทึกพร้อมการขอรับบำเหน็จเพียงครั้งเดียว

  29. การหักหนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ให้หักหนี้ได้เฉพาะ เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญปกติของข้าราชการ บำเหน็จปกติของลูกจ้างประจำ บำเหน็จตกทอด ห้ามหักหนี้กรณีถูกอายัดทรัพย์แล้ว

  30. การหักหนี้จากเบี้ยหวัด - บำนาญ ปกติ • ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ – ทำหนังสือยินยอมให้หักหนี้ • ยื่นที่ส่วนราชการผู้เบิก (ตามแบบที่ส่วนราชการกำหนด) • ส่วนราชการผู้เบิก – ประสงค์จะหักหนี้จากผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ

  31. การส่งข้อมูลหนี้ที่หักเบี้ยหวัด บำนาญปกติ • ส่งข้อมูลหนี้ที่หักจากเบี้ยหวัด บำนาญปกติ ผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ • ผู้เบิก (Password) หรือผู้ได้รับมอบหมาย - ระดับหัวหน้างาน • ส่งให้ส่วนราชการต้นสังกัด ภายในเวลาที่กำหนด • ส่งทุกเดือน (ถ้ามี)

  32. ส่วนราชการผู้เบิก ก่อนทำคำขอเบิก ปฏิบัติตามหมายเหตุในหนังสือสั่งจ่ายแล้วหรือยัง ! กรณีปลดออกจากราชการ มีหนังสือตอบรับทราบรายงานการลงโทษหรือสัญญา ค้ำประกันด้วยบุคคลหรือทรัพย์สิน ตาม ว 4 หรือยัง ! วิธีปฏิบัติ ตาม หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 04065/ว 122 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2552

  33. กรมบัญชีกลางสำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ และ สำนักงานคลังเขต 1 – 9 การอนุมัติหนังสือสั่งจ่าย ผู้ได้รับมอบหมาย / มอบอำนาจ ลงนามอนุมัติ - ลายมือชื่ออีเล็กทรอนิกส์

  34. การส่งหนังสือสั่งจ่ายการส่งหนังสือสั่งจ่าย • ส่งให้ผู้ขอ – ผู้เบิก ผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ • ส่งให้ผู้มีสิทธิรับเงิน ทางไปรษณีย์

  35. สำนักบริหารการรับ -จ่ายเงินภาครัฐ การเบิกจ่ายเงิน ผู้มีอำนาจ • ตรวจสอบ ลงนาม • ส่งแบบแจ้งการโอนเงินของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการต้นสังกัดผ่านระบบบำเหน็จบำนาญ

  36. บำเหน็จตกทอด ข้าราชการตาย เงินเดือน x เวลาราชการ ผู้รับบำนาญตาย บำนาญ + ชคบ. X 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพ

  37. บำเหน็จตกทอด จ่ายให้แก่ทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ บิดา มารดา 1 ส่วน คู่สมรส 1 ส่วน บุตร 2 ส่วน หรือ 3 ส่วน บุคคลซึ่งผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้ในหนังสือ ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด

  38. ผู้ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดว่า ได้เจตนากระทำหรือพยายามกระทำให้ เจ้าบำนาญหรือผู้ที่จะก่อให้เกิดสิทธิรับบำนาญแก่ตนถึงตายโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญซึ่งต้องคำพิพากษาถึงที่สุดว่า ได้เจตนากระทำหรือพยายามกระทำให้ทายาทด้วยกันถึงตายโดยมิชอบ ด้วยกฎหมาย ทายาทไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด

  39. บำเหน็จตกทอด - ส่วนราชการผู้ขอ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ • ตรวจสอบฐานข้อมูล -ฐานข้อมูลของผู้ตาย -ฐานข้อมูลของบุคคลในครอบครัว • ฐานข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน • ส่งนายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ

  40. ตรวจสอบหลักฐาน การเป็นทายาทผู้มีสิทธิ รับบำเหน็จตกทอด ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2527 เอกสาร – หลักฐานถูกต้อง ดำเนินการ แก้ไขข้อมูลทายาทเดิม ที่ไม่ถูกต้อง บันทึกข้อมูลทายาทเพิ่มเติม นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ

  41. บำเหน็จตกทอด • บำเหน็จตกทอดไม่ใช่มรดก • ส่วนราชการผู้ขอ จะหักหนี้จากบำเหน็จตกทอดไม่ได้ หักได้เฉพาะในกรณีที่ทายาทยินยอมเท่านั้น

  42. หักหนี้จากบำเหน็จตกทอดหักหนี้จากบำเหน็จตกทอด • บำเหน็จตกทอดเป็นของทายาทผู้ตาย • ทายาทมีหนังสือยินยอมให้หักหนี้จากบำเหน็จตกทอดที่มีสิทธิได้รับ • บันทึกการหักหนี้ที่ทายาทยินยอมในระบบ • หนังสือแจ้งรายการหักเงินบำเหน็จ เพื่อชำระหนี้ของส่วนราชการผู้ขอ (แบบ สรจ. 9) • ส่งข้อมูลไปพร้อมกับการขอรับบำเหน็จตกทอด

  43. หลักฐานบำเหน็จตกทอด • แบบ 5309 • สำเนามรณบัตร • สมุด หรือแฟ้ม กพ.7 (กรณีข้าราชการตาย) • แบบ สรจ.12 (กรณีผู้รับบำนาญตาย) • หลักฐานของบิดา-มารดา คู่สมรส หรือบุตร ไม่ต้องส่งให้กรมบัญชีกลาง • กรณีที่ให้ส่งกรมบัญชีกลาง คือ สำเนาการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม สำเนาหนังสือการจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาคำพิพากษาของศาลที่สั่งว่าเป็นบุตรของผู้ตาย หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด (กรณีไม่มีทายาท) • กรณีมีหนี้ให้ส่งแบบ สรจ.9 ไปด้วย

  44. บำนาญพิเศษ (1) ยามปกติ (2) โดยอากาศยาน เรือดำน้ำ ดำน้ำ • กวาดทุ่นระเบิด • ขุด ทำลาย ทำ ประกอบวัตถุระเบิด • มีหน้าที่เกี่ยวกับไอพิษ (3) กระทรวงกลาโหมกำหนดในระหว่าง • การรบ การสงคราม • ปราบปรามการจลาจล

  45. บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ(จ่ายเจ้าตัว)บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ(จ่ายเจ้าตัว) • แบบ 5300 • แบบ สรจ.4 • สำเนาคำสั่งให้ออกจากราชการ • คำสั่งเลื่อนขั้นกรณีพิเศษ • หลักฐานการกำหนดอัตราส่วนของเจ้ากระทรวง • ไม่หักหนี้จากบำนาญพิเศษ

  46. บำนาญพิเศษกรณีตาย (จ่ายทายาท) • แบบ 5309 • แบบ สรจ.4 • คำสั่งเลื่อนขั้นกรณีพิเศษ • หลักฐานการพิจารณาว่าเป็นผู้อุปการะหรือผู้อยู่ในอุปการะ ของเจ้ากระทรวง (กรณีผู้ตายไม่มีทายาท) • ไม่หักหนี้จากบำนาญพิเศษ

  47. บำเหน็จลูกจ้าง • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบำเหน็จลูกจ้าง พ.ศ.2519 บำเหน็จปกติ - ลูกจ้างประจำ บำเหน็จพิเศษ - ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว กรณีตายจ่ายให้แก่ทายาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยมรดกโดยอนุโลม • หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0504/ 2631 ลงวันที่ 18 มกราคม 2528 (วิธีการขอรับบำเหน็จลูกจ้าง)

  48. บำเหน็จปกติลูกจ้าง • แบบ 5313 • บัตรลูกจ้างประจำรายชื่อ (วัน เดือน ปี เกิด บันทึกข้อมูลตามบัตรลูกจ้างประจำรายชื่อ) • คำสั่งให้ออก ลาออก ปลดออก • ประกาศเกษียณอายุ • สำเนามรณบัตร กรณีลูกจ้างตาย • กรณีมีหนี้ให้ส่งแบบ สรจ.9 ไปด้วย

  49. บำเหน็จลูกจ้างรายเดือนบำเหน็จลูกจ้างรายเดือน • แบบ สจป.1 หนังสือแสดงเจตนาขอเปลี่ยนเป็นบำเหน็จรายเดือน (ขอยกเลิกหนังสือสั่งจ่ายเดิมที่จ่ายเป็นแบบเงินก้อน) • มีเวลาราชการปกติ บวก ทวีคูณ 25 ปีบริบูรณ์ • ไม่มีสวัสดิการใด ๆ ทั้งสิ้น • เสียชีวิตไม่มีบำเหน็จตกทอด ตามหนังสือ กระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.5 / ว 101 ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2552

  50. บำเหน็จพิเศษลูกจ้าง ยามปกติ กรณีทุพพลภาพ 6 - 24 เท่าของค่าจ้าง กรณีตาย 30 เท่าของค่าจ้าง กระทรวงกลาโหมกำหนด การรบ การสงคราม ปราบปรามจลาจลสถานการณ์ฉุกเฉิน กรณีทุพพลภาพ 36 - 42 เท่าของค่าจ้าง กรณีตาย 48 เท่าของค่าจ้าง ลูกจ้างชั่วคราว ได้รับในอัตราสามในสี่ส่วน ของลูกจ้างประจำ

More Related