1 / 73

ข้อมูลทั่วไป

ข้อมูลทั่วไป. 13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944/30 หมู่บ้าน/ชุมชน 262,768 ครัวเรือน ประชากร 961,605 คน ชาย 476,223 คน หญิง 485,382 คน เทศบาล 18 แห่ง อบต. 124 แห่ง. โรงพยาบาล ระดับ S 1 แห่ง โรงพยาบาล ระดับ M2 2 แห่ง ระดับ F1 2 แห่ง ระดับ F2 6 แห่ง

daphne
Download Presentation

ข้อมูลทั่วไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลทั่วไป • 13 อำเภอ • 133 ตำบล • 1,944/30 หมู่บ้าน/ชุมชน • 262,768 ครัวเรือน • ประชากร 961,605 คน • ชาย 476,223 คน • หญิง 485,382 คน • เทศบาล 18 แห่ง • อบต. 124 แห่ง

  2. โรงพยาบาล ระดับ S1 แห่ง โรงพยาบาล ระดับ M2 2 แห่ง ระดับ F1 2 แห่ง ระดับ F2 6 แห่ง ระดับ F3 2 แห่ง ระดับ F3 2 แห่ง ระดับ P1 4 แห่ง ระดับ P2 175 แห่ง สถานบริการ

  3. จำนวนบุคลากรต่อประชากรจำนวนบุคลากรต่อประชากร • แพทย์ (160 คน) 1 : 6,010 • ทันตแพทย์(65 คน) 1 : 14,794 • เภสัชกร (103 คน) 1 : 9,336 • พยาบาลวิชาชีพ (1,270 คน) 1 : 757 จำนวน จนท.ต่อ รพ.สต. (3.67 คน : 1) จำนวน จนท.รพ.สต. ต่อ ประชากร (1: 1,495)

  4. ผลการพัฒนาตามเกณฑ์การประกวด 7 เกณฑ์

  5. ประเด็นการประเมิน 1 : เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการสุขภาพ

  6. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม(service plan)

  7. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม • แต่งตั้งกรรมการบริหารเครือข่ายและกรรมการดำเนินงานแต่ละสาขา - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นประธาน- คณะกรรมการ ๑๐ สาขา มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เป็นประธาน - มีภาคีเครือข่ายร่วมเป็นกรรมการ

  8. การดำเนินงาน • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการ ๑๐ สาขา • จัดประชุมทำแผนพัฒนากำลังคนรองรับระบบบริการ ๑๐ สาขา • จัดประชุมทำแผนงบลงทุนรองรับระบบบริการ ๑๐ สาขา • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทำแผนระดับ CUP

  9. ผลลัพธ์ • มีแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการ ๑๐ สาขา จังหวัดมหาสารคาม • มีแผนพัฒนากำลังคนรองรับระบบบริการ ๑๐ สาขา จังหวัดมหาสารคาม • มีแผนงบลงทุนรองรับระบบบริการ ๑๐ สาขา

  10. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดมหาสารคามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม การขับเคลื่อนระดับนโยบาย * กำหนดให้มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดมหาสารคามตามนโยบายเขตสุขภาพที่ ๗ เป้าหมาย * ให้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของเขตสุขภาพ ที่ ๗โดยมีการจัดการทรัพยากรร่วมกันให้ตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพของประชาชน และมีการส่งต่อในสถานบริการในเครือข่ายที่มีศักยภาพสูงกว่า * ให้มีการจัดระบบบริการสุขภาพที่ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ * ให้มีการบูรณาการทั้งระดับตติยภูมิ ทุติยภูมิ และปฐมภูมิ เพื่อการเข้าถึงบริการอย่างเป็นธรรมและมีคุณภาพ

  11. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม • การขับเคลื่อนระดับกระบวนการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัด มหาสารคาม ๑๐สาขา ได้แก่ ๑. สาขาโรคหัวใจ ๒.สาขามะเร็ง ๓. สาขาทารกแรกเกิด ๔.สาขาอุบัติเหตุ ๕.สาขาจิตเวช ๖.บริการ ๕ สาขาหลัก ๗.สาขาบริการปฐมภูมิทุติยภูมิ และองค์รวม ๘.สาขาทันตกรรม ๙.สาขาไตและตา ๑๐.สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

  12. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม การขับเคลื่อนระดับกระบวนการ * มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระดับจังหวัด ๑๐สาขา ระดับจังหวัด * มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระดับจังหวัด ๑๐สาขา ระดับอำเภอ

  13. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดมหาสารคามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ระดับผลลัพธ์ * มีการสนับสนุนทรัพยากรสอดคล้องกับแผนหน่วยบริการสุขภาพ * มีการติดตามตัวชี้วัดการพัฒนาระบบบริการ ๑๐ สาขา

  14. ประเด็นการประเมิน 2 สร้างเอกภาพและเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ • มีคณะทำงาน รวบรวมและยกร่างแผน • คณะกรรมการดำเนินงานประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับ จังหวัด อำเภอ ตำบล ตัวแทนหน่วยงานราชการอื่น ตัวแทนภาคี ตัวแทน อสม • คณะกรรมการ กวป. พิจารณาให้ความเห็นชอบ

  15. กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ แผนงาน/ โครงการ กิจกรรม ติดตามประเมินผล นโยบายของหน่วยงานระดับชาติ นโยบายรัฐบาล Implementation SW แนวทางของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง สถานการณ์และแนวโน้มภายนอก ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ Planning ตัวชี้วัด สถานการณ์และแนวโน้มภายใน แนวทาง ของหน่วยงาน OT ปัญหาสาธารณสุข/ ความต้องการ ของประชาชน บทบาทหน้าที่ ของหน่วยงาน Evaluation

  16. วิสัยทัศน์: ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง และทางอ้อมอย่างยั่งยืน • เป้าหมาย 10 ปี • 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี • 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี • กรอบการตรวจราชการ • 2 ภารกิจ 5 ประเด็นหลัก • 18 หัวข้อ 85 ตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2555-2558 วิสัยทัศน์ ประชาชนจังหวัดมหาสารคามสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วมจัดระบบบริการสุขภาพ ที่ได้มาตรฐาน ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภายในปี 2558 24 ตัวชี้วัด หลัก 117 ตัวชี้วัดย่อย • 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ • 1 เพิ่มการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพอย่างเสมอภาค • และเป็นธรรม • 2 เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนภาคีเครือข่าย • ในการจัดระบบบริการสุขภาพตามแนวทางปรัชญา • เศรษฐกิจพอเพียง • 3 พัฒนาและยกระดับคุณภาพบริการของหน่วยบริการ • สาธารณสุขและเครือข่ายสุขภาพให้ได้มาตรฐาน • 4 เร่งรัดการบริหารจัดการสุขภาพให้เป็นไปตามหลัก • ธรรมาภิบาล

  17. ตัวชี้วัดการประเมิน • ร้อยละตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด

  18. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคามสรุปผลการดำเนินงานตามแผนระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี พ.ศ. 2555 – 2558 ประจำปีงบประมาณ 2556 ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 12 เป้าประสงค์ 24 ตัวชี้วัดหลัก 117 ตัวชี้วัดย่อย 22 กลยุทธ์

  19. ตัวชี้วัดการประเมิน • ร้อยละตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามแผนยุทธศาสตร์ของผู้ตรวจราชการและนิเทศงานในระบบปกติ • ผ่าน ร้อยละ77.27ไม่ผ่าน ร้อยละ 21.21 อยู่ระหว่างดำเนินการ ร้อยละ 1.51

  20. แผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคามแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม ๑.ความไม่ถูกต้อง สมบูรณ์ของสัญญา ๒.การดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนดตามสัญญา/ผลงานไม่เป็นไปตามสัญญา

  21. การดำเนินการควบคุมความเสี่ยงการดำเนินการควบคุมความเสี่ยง กำหนดมาตรการ • กำกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการจัดทำสัญญา • ตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของสัญญา • ควบคุม การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนงาน • ให้นายช่างควบคุมงานติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานทุกระยะ

  22. ผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง • มีการปฏิบัติตามมาตรการ/กิจกรรมควบคุมที่ได้กำหนดไว้แต่ยังไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ • สามารถลดความเสี่ยงได้ในบางประเด็น แต่พบว่ายังมีบางประเด็นความเสี่ยงที่ยังคงเป็นปัญหาในการดำเนินงานอยู่ แต่หน่วยงานสามารถดำเนินการแก้ไขได้

  23. ประเด็นการประเมิน 3พัฒนาระบบการเงินการคลังและการบริหารกองทุนสุขภาพ

  24. กระบวนการดำเนินงานพัฒนาระบบการเงินการคลัง และการบริหารกองทุนสุขภาพ 1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซึ่งประกอบด้วย สสจ./ตัวแทน รพ./สสอ. 2.กำหนดเป็นนโยบายสำคัญที่ผู้เกี่ยวข้องต้องดำเนินการ 3.มีการถ่ายทอดนโยบาย/ ตัวชี้วัด สู่ผู้ปฏิบัติทุกระดับ 4.มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ และนำไปพิจารณาปรับเกลี่ยงบประมาณรายหัว ตลอดจนแก้ไขปัญหาร่วมกัน 5.มีการออกนิเทศ ติดตาม และประเมิน ปีละ 2 ครั้ง / ควบคุมภายในปีละ 2 ครั้ง 6.นำผลการประเมินมามอบรางวัล ปีละ 1 ครั้ง และนำไปจัดทำแผนพัฒนาในปีต่อไป

  25. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • ผู้บริหารระดับจังหวัดกำหนดเป็นนโยบายที่ชัดเจน • มีระบบการติดตาม กำกับ สนับสนุน และประเมินผลที่ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ • นำผลการประเมินแต่ละอำเภอมาประกอบการพิจารณาความดีความชอบ และจัดมอบรางวัล • ผู้ปฏิบัติแต่ละอำเภอมีความมุ่งมั่น ทุ่มเท และมีศักยภาพในการปฏิบัติงานสูง

  26. แนวทางการดำเนินงาน ปี 2557 • อบรมพัฒนาศักยภาพทีมทุกระดับ • จัดระบบข้อมูลเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ออกติดตาม นิเทศ ประเมิน • จัดรางวัลสำหรับพื้นที่ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น

  27. ประเด็นการประเมิน 4 พัฒนาระบบและการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล

  28. ๔.๑ ยุทธศาสตร์การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร ปรับปรุงภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอก กิจกรรม 5 ส. อย่างต่อเนื่อง จัดสรรสวัสดิการบ้านพักให้เหมาะสม มีมาตรการรักษาความปลอดภัยในทรัพย์สินของบุคลากร การจัดกิจกรรมทำบุญวันเกิดรับของขวัญจากผู้บริหารทุกเดือน กิจกรรม OD ทุกปี

  29. ๔.๒ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ๑. ประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ตัวชี้วัดจากหน่วยเหนือทุกระดับ ๓. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ(Performance) ๗๐% โดยใช้วิธี Goal cascading และประเมินผลสมรรถนะหลัก (Core Competency) ๓๐% โดยใช้วิธี Role Model โดยสมรรถนะหลักที่ได้รับค่าคะแนนสูงสุด คือ คุณธรรมและจริยธรรม,มุ่งผลสัมฤทธิ์,และการทำงานเป็นทีม ร้อยละ ๙๐.๘๒,๘๙.๓๔,๘๘.๒๐ ตามลำดับ ๔. มีการตกลงเกณฑ์การประเมินร่วมกันในรูปแบบคณะกรรมการบริหารสำนักงานสาธารณสุข สรุปแยกเกณฑ์ตามกลุ่มงานได้ จำนวน ๑๐ เกณฑ์ ๕. ผลการดำเนินงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มีประสิทธิภาพและไม่มีความขัดแย้งภายในองค์กร

  30. แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ๑. มีคณะกรรมการพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุข ๒. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากรสุขภาพ - แผนกำลังคนด้านสาธารณสุข ๒๔ สายงาน - แผนพัฒนากำลังคน(Service Plan) ๑๐ สาขา - มีแผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพ ๓. มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานพัฒนากำลังคน

  31. ผลการดำเนินงานพัฒนากำลังคนตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด ผลการดำเนินงานพัฒนากำลังคนตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด ๑.ผลการประเมินสมรรถนะหลักของบุคลากร ร้อยละ ๘๘.๙๘๒.บุคลากรได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ ร้อยละ ๙๖.๙๓๓.งบประมาณเพื่อการพัฒนากำลังคน ร้อยละ ๔.๖๐๔.ความพึงพอใจในความสำคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกำลังใจ ในการทำงานของบุคลากร ร้อยละ ๗๖.๖๓๕.ความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากร ร้อยละ ๗๘.๙๘

  32. ประเด็นการประเมิน 5 พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

  33. หน่วยบริการใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลการให้บริการผู้ป่วย และจัดส่งให้กับจังหวัด รวมรวมข้อมูล Provis 21 แฟ้ม HDC 50 แฟ้ม รพ/รพ.สต. สสจ.

  34. 2. มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัดที่คลอบคลุมถูกต้องและทันสมัย • ระบบฐานข้อมูลประชากรจังหวัดมหาสารคาม DB-POP • ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยและส่งเสริมป้องกันโรค OP/PP รูปแบบ 21/50 แฟ้ม Provis,Health Data Center • ระบบฐานข้อมูล เกี่ยวกับการติดตามงบประมาณและโครงการ (Ebudget) • ระบบฐานข้อมูล เกี่ยวกับตัวชี้วัด (KPI) • ระบบฐานข้อมูล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งจังหวัด (PIS)

  35. ระบบฐานข้อมูลประชากรจังหวัดมหาสารคาม DB-POP

  36. ระบบฐานข้อมูลแบบ 21 & 50 แฟ้ม Provis & Health Data Center

  37. การติดตามงบประมาณและโครงการ E-Budget

  38. ระบบฐานข้อมูล เกี่ยวกับตัวชี้วัด (KPI)

  39. เว็บไซต์ความรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชาชนเว็บไซต์ความรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชาชน • มีเว็บไซต์เพื่อใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลและข่าวสาร เกี่ยวกับสาธารณสุขผ่าน http://mkho.moph.go.th

  40. ระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) • มีการจัดทำระบบเพื่อตรวจสอบเครือข่าย ว่าเครื่องได้ทำงานปกติหรือไม่ (Siren Server System)

  41. ระบบป้องกันและสำรองฐานข้อมูลสารสนเทศระบบป้องกันและสำรองฐานข้อมูลสารสนเทศ • ระบบ FireWall • สำรองข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ Server Farm เครื่องแม่ข่าย ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ Source Zip File BackUp Server Source File & Database

  42. ประเด็นการประเมิน 6 นวัตกรรม (Innovation)

  43. นวัตกรรม 1 : CAPD การบริหารจัดการโรคไตระดับจังหวัด CKD Clinic Mahasarakham Model ปัญหา • กระแสความสนใจน้อยกว่าโรคเรื้อรังอื่นๆ • อัตราป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ • ผู้ป่วย CAPD และHD เพิ่มขึ้น

  44. วิธีดำเนินงาน มาตรการ ๘ข้อของการชะลอไตเสื่อม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ share and learn จัดตั้ง/พัฒนาCKD Clinic ชมรมเพื่อนโรคไต Health club Maximizing CKD ดูงาน/นิเทศงาน

  45. ผลลัพธ์ • จัดตั้ง CKD Clinic ๑๑ แห่งคิดเป็น ร้อยละ ๙๐ • คัดกรอง DM/HT ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ร้อยละ ๑๐๐ • เกิดระบบสร้างห้องล้างไตแบบมีส่วนร่วมจากชุมชน • กระแสการรักษ์ไตดีขึ้น(สมาชิกชรม ผ้าป่า บริจาคอวัยวะ) • ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายได้รับการดูแล เสียชีวิตแบบมีศักดิ์ศรี

  46. ผลงานที่น่าภูมิใจ กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย • จัดประชุม Asia Forum in chronic Kidney Disease Initiative (AFCKDI) วันที่ 2-3 สิงหาคม 2556 ที่ โรงแรม The Zignพัทยา จังหวัดชลบุรี โล่รางวัลงานโรคไต ปี ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๖ CKD รพ.โกสุมพิสัย ,แกดำ มหกรรมวันไตโลก

More Related