1 / 27

การสร้างเครื่องมือการวิจัย

การสร้างเครื่องมือการวิจัย. โดย น.อ.หญิงอาภรณ์ ชูดวง. เครื่องมือการวิจัย. ประเภทเครื่องมือการวิจัย 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสังเกต 4. แบบทดสอบ 5. เครื่องมืออื่นๆ. ความสัมพันธ์ของเครื่องมือกับขั้นตอนอื่นๆ. เครื่องมือการวิจัยกับขั้นตอนการวิจัย. วัตถุประสงค์ของวิจัย.

Download Presentation

การสร้างเครื่องมือการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเครื่องมือการวิจัยการสร้างเครื่องมือการวิจัย โดย น.อ.หญิงอาภรณ์ ชูดวง

  2. เครื่องมือการวิจัย ประเภทเครื่องมือการวิจัย 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสังเกต 4. แบบทดสอบ 5. เครื่องมืออื่นๆ

  3. ความสัมพันธ์ของเครื่องมือกับขั้นตอนอื่นๆความสัมพันธ์ของเครื่องมือกับขั้นตอนอื่นๆ เครื่องมือการวิจัยกับขั้นตอนการวิจัย วัตถุประสงค์ของวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือเก็บข้อมูล กรอบแนวคิดวิจัย การรายงานผลวิจัย

  4. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. กำหนดข้อมูลที่ต้องการ 2. การวัดโดยกำหนดตัวชี้วัดและสร้างมาตรวัด 3. สร้างข้อคำถาม 4. ตรวจสอบและทำบรรณาธิกร 5. ทดลองใช้และ 6. ปรับปรุง

  5. 1.ขั้นตอนการกำหนดข้อมูลที่ต้องการ1.ขั้นตอนการกำหนดข้อมูลที่ต้องการ 1.พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการวิจัยแต่ละข้อ เพื่อทราบว่าต้องการข้อมูลอะไร มีตัวแปรอะไรบ้างที่ต้องนำมาพิจารณา 2.แยกวัตถุประสงค์ของการวิจัยออกเป็นประเด็นย่อยๆให้มากที่สุด ( ขึ้นกับการตรวจเอกสาร) 3.นำประเด็นที่แยกออกมาทำเป็นแผนผังก้างปลา เพื่อนำไปกำหนดเป็นข้อคำถาม

  6. ตัวอย่างการทำผังก้างปลางานวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์เรือตัวอย่างการทำผังก้างปลางานวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์เรือ • วัตถุประสงค์ของงานวิจัย • เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล บรรยากาศองค์การ และระดับความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล บรรยากาศองค์การ กับความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ • เพื่อศึกษาปัจจัยที่ร่วมพยากรณ์ความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ

  7. 2 เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล บรรยากาศองค์การ และระดับความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ ความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือขึ้นอยู่กับ 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง การได้รับการอบรมด้านการบริหาร 2.ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล ความมั่นใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความยืดหยุ่น วิจารณญาณและความมีเหตุผล 3.บรรยากาศองค์การ โครงสร้างองค์การ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบในงาน การให้ความสำคัญกับผลงาน การสนับสนุนในการปฏิบัติงานจริง การยึดมั่นผูกพันในงาน 4.ความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์การและการจัดบุคลากร การนำ การประเมินผล

  8. ปัจจัยส่วนบุคคล ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง การได้รับการอบรมด้านการบริหาร ปัจจัยคุณกษณะเฉพาะบุคคล ความมั่นใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความยืดหยุ่น วิจารณญาณและความมีเหตุผล บรรยากาศองค์การ โครงสร้างองค์การ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบในงาน การให้ความสำคัญกับผลงาน การสนับสนุนในการปฏิบัติงานจริง การยึดมั่นผูกพันในงาน ความสามารถในการบริหารงานของหน.หอ ผู้ป่วย การวางแผน การจัดองค์การและการจัดบุคลากร การนำ การประเมินผล

  9. 2. การวัดโดยกำหนดตัวชี้วัดและสร้างมาตรวัด การวัด เป็นการแปรสภาพข้อความคิดหรือแนวคิดซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมให้ เป็นตัวแปรและข้อมูลทางสถิติอาจเป็นเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ ในการวัด ผู้วิจัยต้องกำหนดให้เด่นชัดว่า • ข้อมูลหรือตัวแปรที่จะวัดนั้นคืออะไร(ได้จากประเด็นในก้างปลา) • ในการวัดใช้อะไรเป็นตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดแต่ละตัวมีมาตรวัดอย่างไร • ตัวชี้วัดและมาตรวัดนั้นจะถูกนำไปกำหนดเป็นข้อคำถาม

  10. การวัด แนวคิด นามธรรม ตัวแปร(สิ่งที่จะวัด) ตัวชี้วัด มาตรวัด รูปธรรม

  11. ความหมายของตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดหมายถึงสิ่งที่บ่งบอกหรือสะท้อนลักษณะของประเด็นที่ต้องการจะวัด ประเด็นที่ต้องการจะวัด ตัวชี้วัด ความอ้วน น้ำหนัก ปริมาณไขมันในร่างกาย สุขภาพ จำนวนครั้งของการเจ็บป่วย ความสวย หน้าตา รูปร่าง บุคลิกภาพ อารมณ์

  12. ตัวชี้วัดความสามารถในการบริหารของหน.ฯตัวชี้วัดความสามารถในการบริหารของหน.ฯ • แนวคิด : ความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ (การวางแผน การจัดองค์การและการจัดบุคลากร การนำ การประเมินผล) ประเด็นที่จะวัด: 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง การได้รับการอบรมด้านการบริหาร 2.ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล ความมั่นใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความยืดหยุ่น วิจารณญาณและความมีเหตุผล 3.บรรยากาศองค์การ โครงสร้างองค์การ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบในงาน การให้ความสำคัญกับผลงาน การสนับสนุนในการปฏิบัติงานจริง การยึดมั่นผูกพันในงาน

  13. ตัวชี้วัดความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือตัวชี้วัดความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ ประเด็นที่ 1.ปัจจัยส่วนบุคคล ตัวชี้วัด :ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง การได้รับการอบรมด้านการบริหาร ประเด็นที่ 2. ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล ตัวชี้วัด : ความมั่นใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความยืดหยุ่น วิจารณญาณและความมีเหตุผล ประเด็นที่ 3. บรรยากาศองค์การ ตัวชี้วัด :โครงสร้างองค์การ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบในงาน การให้ความสำคัญกับผลงาน การสนับสนุนในการปฏิบัติงานจริง การยึดมั่นผูกพันในงาน ประเด็นที่ 4ความสามารถในการบริหารงาน ตัวชี้วัด :การวางแผน การจัดองค์การและการจัดบุคลากร การนำ การประเมินผล

  14. ความหมายของมาตรวัด มาตรวัด: หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการวัด ( การกำหนดหน่วยในการวัด ) • ระดับของการวัด • นามมาตร • จัดอันดับ • อันตรภาค • อัตราส่วน

  15. ตัวอย่างของมาตรวัด ตัวชี้วัด : การได้รับการอบรมด้านการบริหาร มาตรวัด : นามมาตร ตัวชี้วัด : ระดับการศึกษา มาตรวัด : นามมาตร ตัวชี้วัด : ปัจจัยคุณลักษณะเฉพาะบุคคล มาตรวัด : อัตราส่วน ตัวชี้วัด : บรรยากาศองค์การ มาตรวัด : อัตราส่วน ตัวชี้วัด : ความสามารถในการบริหารงาน มาตรวัด : อัตราส่วน

  16. ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด • นำประเด็นต่างๆที่ได้ทำเป็นแผนผังก้างปลามาพิจารณา • กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละประเด็นจากแผนผังก้างปลา • กำหนดมาตรวัดในแต่ละประเด็น • ทำตารางสรุปประกอบด้วย ประเด็นที่จะวัด ตัวชี้วัด มาตรวัดและแหล่งข้อมูล

  17. ตัวอย่างตารางสรุปการกำหนดตัวชี้วัดตัวอย่างตารางสรุปการกำหนดตัวชี้วัด

  18. 3. การสร้างข้อคำถาม • นำตารางสรุปตัวชี้วัดมาพิจารณา • สร้างข้อคำถามให้ครบทุกประเด็นตัวชี้วัดและใช้มาตรวัดตามที่ได้กำหนดไว้ • ยกร่างชุดของคำถามโดยยึดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการสร้างคำถามมาประกอบการพิจารณา

  19. ข้อห้ามในการสร้างข้อคำถามข้อห้ามในการสร้างข้อคำถาม • คำถามนำ เป็นคำถามที่กำหนดคำตอบไว้และพยายามจะให้ผู้ตอบเห็นด้วย • ผู้บริหารที่ดีไม่นิยมใช้การประเมินด้วยวิธีผู้ร่วมงานมีส่วนร่วม ท่านเห็นด้วยหรือไม่ • ท่านคิดว่าผู้บริหารทางการพยาบาลที่ดีใช้วิธีการใดในการประเมินผล

  20. 2. คำถามที่ลำเอียง เป็นคำถามที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้ตอบให้คำตอบตามที่ผู้วิจัยต้องการ • ท่านบริหารหอผู้ป่วยตามข้อแนะนำที่กำหนดไว้หรือไม่ • ท่านปฏิบัติอย่างไรในการประเมินผลงานของพยาบาลในหอผู้ป่วย 3. คำถามที่เป็นเชิงปฏิเสธเป็นคำถามในรูปของการปฏิเสธ • ไม่จำเป็นต้องใช้การมีส่วนร่วมในการบริหารใช่ไหม • ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของทีมการพยาบาล

  21. 4.คำถามที่มีสองคำถามซ้อนกัน เป็นคำถามที่ถาม 2 ประเด็นในคำถามเดียวกัน • ท่านตรวจสอบและให้คะแนะนำแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาบ่อยเพียงใด 5. คำถามที่สร้างความอึดอัดในการตอบ เป็นคำถามที่ทำให้ผู้ตอบมีความลำบากใจที่จะตอบ • ทำไมท่านไม่เข้าร่วมกิจกรรมวิชาการที่กองการพยาบาลจัด • ท่านได้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาการที่กองการจัดหรือไม่ • ถ้าไม่เข้าร่วมเพราะเหตุใด

  22. 6. คำถามที่กำกวม เป็นคำถามที่ไม่ชัดเจน หรือผู้ตอบอาจเข้าใจความหมายไม่ตรงกับที่ผู้วิจัยต้องการ • ท่านมีประสบการณ์อะไรเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้ง • ท่านใช้วิธีการใดในการบริหารความขัดแย้งต่อไปนี้

  23. ข้อควรคำนึงในการสร้างข้อคำถาม ข้อควรคำนึงในการสร้างข้อคำถาม • ลักษณะของประชากรที่ตอบ • ลักษณะของเรื่องราวที่เก็บข้อมูล • ความสั้นยาวของแบบสอบถาม ควรให้เครื่องมือนั้นสั้นที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ต้องได้ข้อมูลครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาหรือเพียงพอที่จะใช้ในการทอสอบข้อสมมติฐานที่ตั้งไว้ • ลักษณะของข้อคำถาม • การลำดับคำถาม โดยหลีกเลี่ยงไม่ให้คำตอบในข้อหนึ่งๆนำไปสู่คำตอบในอีกข้อหนึ่งอย่างไม่มีทางเลือกที่จะตอบอย่างอื่น

  24. 4. การตรวจสอบและทำบรรณาธิกรเครื่องมือ • ผู้วิจัยตรวจสอบความถูกต้องด้วยตัวเองว่ามีความครบถ้วนและสามารถตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยหรือยัง • ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา

  25. 2. ใช้ผู้เชี่ยวชาญ(expert)ตรวจสอบความตรงด้าน เนื้อหา ตรวจสอบความเป็นปรนัย ความสามารถในการนำไปใช้ในข้อคำถามแต่ละข้อ วิธีการดำเนินการ ใช้ผู้เชียวชาญไม่น้อยกว่า 3 ท่าน ร่วมพิจารณา และใช้ดัชนีความพ้อง (index of concurrence)ของความเห็นของผู้เชียวชาญนั้นโดยใช้เกณฑ์การตัดสินใจว่าจะคงข้อความหรือข้อคำถามนั้นไว้เมื่อมีค่าดัชนีความพ้องไม่ต่ำกว่า 0.5

  26. ดัชนีความพ้อง (index of concurrence) ดัชนีความพ้องคือตัวเลขที่เป็นผลลัพธ์เมื่อนำจำนวนผู้เชียวชาญที่ให้ความเห็นว่าข้อความหรือข้อคำถามนั้นเหมาะสมใช้ได้ แล้วหารด้วยจำนวนผู้เชียวชาญทั้งหมด การให้คะแนนในแต่ละข้อคำถามหรือข้อความของผู้เชียวชาญ +1 = ถ้าแน่ใจว่าข้อความหรือคำถามนั้นใช้ได้แล้ว 0 = ถ้าไม่แน่ใจ -1 = ถ้าแน่ใจข้อความหรือคำถามนั้นว่าไม่ตรงเนื้อหา

  27. 5. ทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไข • จัดพิมพ์เป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์ • นำเครื่องมือที่สร้างแล้วไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายกับกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย(try out) • หาความเที่ยง ของเครื่องมือ • นำมาปรับปรุงแก้ไขก่อนใช้จริง

More Related