1 / 43

ระบบ สวัสดิการ รักษาพยาบาล ข้าราชการ

ระบบ สวัสดิการ รักษาพยาบาล ข้าราชการ. ที่มาของกฎหมาย. พระราชบัญญัติ. การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายเงินบางประเภทตามงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2518. พระราชกฤษฎีกา. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (รวม 8 ฉบับ). ระเบียบ.

Download Presentation

ระบบ สวัสดิการ รักษาพยาบาล ข้าราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ข้าราชการ

  2. ที่มาของกฎหมาย พระราชบัญญัติ การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายเงินบางประเภทตามงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2518 พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (รวม 8 ฉบับ) ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545 หนังสือเวียนต่างๆ

  3. ลูกจ้างประจำ ผู้รับบำนาญปกติ ข้าราชการ ผู้มีสิทธิ ลูกจ้างชาวต่างชาติ ผู้รับเบี้ยหวัด ผู้รับบำนาญพิเศษเหตุทุพลภาพ

  4. ผู้มีสิทธิ เริ่ม : วันเข้ารับราชการ วันรับบำนาญ สิ้นสุด : วันลาออก วันเกษียณ เสียชีวิต ไล่ออก พักราชการ

  5. รับราชการ รับบำนาญ เกษียณ เสียชีวิต พักราชการ ไล่ออก ลาออก เสียชีวิต ตัวอย่าง 25 ปี 60 ปี 60 ปี 1 เดือน 85 ปี

  6. บุตร ( คน) บิดา มารดา บุคคลในครอบครัว คู่สมรส

  7. หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์ มารดาผู้มีสิทธิ มารดา : สูติบัตร หรือ ทะเบียนบ้าน

  8. หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์ บิดาผู้มีสิทธิ บิดา : สูติบัตร หรือ ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส(ระหว่างบิดาและมารดา) หรือ ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) หรือ คำสั่งศาล

  9. หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์ คู่สมรสผู้มีสิทธิ คู่สมรส : ทะเบียนสมรส

  10. หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์ ผู้มีสิทธิบุตร ผู้มีสิทธิเป็นมารดา : สูติบัตร หรือ ทะเบียนบ้าน

  11. หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์หลักฐานทางราชการที่ใช้ยืนยันความสัมพันธ์ ผู้มีสิทธิบุตร ผู้มีสิทธิเป็นบิดา : สูติบัตร หรือ ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส(ระหว่างผู้มีสิทธิและคู่สมรส) หรือ ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) หรือ คำสั่งศาล

  12. บุตร เริ่ม : วันคลอด สิ้นสุด : บรรลุนิติภาวะ แบ่งเป็น 2 กรณี คือ (1) อายุ 20 ปีบริบูรณ์ (2) จดทะเบียนสมรส

  13. บุตร เรียงลำดับการเกิด แทนที่เฉพาะตายก่อนบรรลุนิติภาวะ

  14. บุตร ทูลใจ (บิดา) 1. หญิง 2. ต้า 3. กล้า 4. แนน 5. นุช 18 ปี 16 ปี 14 ปี 10 ปี 8 ปี • นาตยา (มารดา) • กล้า • แนน • 3. นุช 14 ปี 10 ปี 8 ปี

  15. ค่ารักษาพยาบาล

  16. ค่ารักษาพยาบาล ? “ เงินที่สถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษาพยาบาล ” การรักษาพยาบาล ? “ การรักษาคนที่รู้สึกไม่สบายเพราะความเจ็บไข้ ความเจ็บป่วย ความบกพร่องหรือผิดปกติทางใจ ”

  17. รายการค่ารักษาพยาบาล • ค่ายา ค่าเลือดและส่วนประกอบของเลือดหรือสารทดแทน ค่าน้ำยา หรืออาหารทางเส้นเลือด ค่าออกซิเจน • ค่าอวัยวะเทียม อุปกรณ์ และค่าซ่อมแซม • ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรค • ค่าห้องและค่าอาหาร • ค่าตรวจสุขภาพประจำปี

  18. ค่ายา รักษาโรค ในบัญชียาหลักแห่งชาติ นอกบัญชียาหลัก : คกก.แพทย์รับรอง ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0526.5/ ว. 66 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2542 )

  19. อวัยวะเทียม อุปกรณ์ และค่าซ่อมแซม ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 77 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2548 (358 รายการ) ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 165 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2550 (12 รายการ) ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 370 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2550 (3 รายการ)

  20. ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรค ค่าธรรมเนียมในการตรวจรักษาพยาบาล ค่าห้องผ่าตัด ค่าอุปกรณ์เครื่องมือในการผ่าตัด ค่าตรวจทางห้องทดลอง ค่าเอ๊กซเรย์ ค่าวิเคราะห์โรค ไม่รวมถึง ค่าธรรมเนียมพิเศษ ค่าจ้างผู้พยาบาลพิเศษ เงินตอบแทนพิเศษ

  21. ใบเสร็จ รพ. “ต้องลงรหัส อัตราค่าบริการ” ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรค ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 177 ( ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2549 ) ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 309 ( ลงวันที่ 17 กันยายน 2550 ) ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 414 ( ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 )

  22. เบิกตามหนังสือเวียน ว 42 ลว 13 กพ.52 ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรค หนังสือเวียน ว. 177, ว. 309, ว. 414 กำหนดอัตราค่าบริการสาธารณสุข 16 หมวด ยกเว้น หมวด 14 : กายภาพบำบัด, เวชกรรมฟื้นฟู เบิกตาม รพ. เรียกเก็บ หมวด 15 : ฝังเข็ม, แพทย์แผนไทย

  23. ค่าห้องและค่าอาหาร เตียงสามัญ : วันละไม่เกิน 300 บาท เตียงพิเศษ : วันละไม่เกิน 600 บาท ไม่เกิน 13 วัน เกิน ต้องมีคณะกรรมการ แพทย์รับรอง ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 177 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2549

  24. การตรวจสุขภาพประจำปี เฉพาะผู้มีสิทธิ : ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ สถานพยาบาลของทางราชการ เบิกได้ตามสิทธิ ตามที่ กค. กำหนด ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว. 177 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2549

  25. ตัวอย่างการเบิกจ่ายผิดระเบียบ/หลักเกณฑ์ ที่พบ นวดสุขภาพ/ผ่อนคลาย อาหารเสริม ยาลดความอ้วน เสริมสวย การมีบุตรยาก

  26. กรณีถูกจำกัดสิทธิ ได้รับจากหน่วยงานอื่น ได้รับค่าสินไหมทดแทนจากผู้อื่น เว้นแต่ ต่ำกว่าสิทธิทางราชการ

  27. สถานพยาบาลของเอกชน • ค่ารักษาพยาบาลป่วยใน เบิกได้ • ประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัยจำเป็นเร่งด่วน หากมิได้รักษาอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต 1. ค่าห้องและค่าอาหารตามที่กำหนด 2. ค่าอวัยวะเทียม อุปกรณ์ รวมทั้งค่าซ่อมแซม ตามที่กำหนด 3. ค่ารักษาพยาบาล เบิกได้ครึ่งหนึ่ง จ่ายจริงไม่เกิน 3,000 บาท

  28. DRG ผู้ป่วยใน รพ.รัฐ DRG version 3.3 : version ปัจจุบัน, ฉบับเดียวกับ สปสช. Base Rate : ราย รพ. (ใช้ข้อมูล รพ. ย้อนหลัง 3 ปี) ประกาศใช้ 1 กรกฎาคม 2550 ไม่รวม ค่าห้องค่าอาหาร : เบิกตาม ว.177 ค่าอุปกรณ์ และอวัยวะเทียม : เบิกตาม ว.77 และ ว.165 ค่ายามะเร็ง : เบิกตาม ว.177

  29. DRG ผู้ป่วยใน รพ.รัฐ ที่ไม่เกี่ยวกับการรักษาโดยตรง ผู้ป่วยรับผิดชอบเอง ส่วนเกินสิทธิ ค่าห้องค่าอาหาร เบิกได้ตามอัตราที่กำหนด อวัยวะเทียม+อุปกรณ์ ค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ ตามสิทธิ จ่ายตาม DRG

  30. จ่ายตรงสวัสดิการรักษาพยาบาลจ่ายตรงสวัสดิการรักษาพยาบาล ผู้มีสิทธิ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ และบุคคลในครอบครัว ขั้นตอนดำเนินการ 1. ผู้มีสิทธิตรวจสอบสิทธิจากฐานข้อมูลกรมบัญชีกลาง (www.cgd.go.th) 2. หากไม่พบข้อมูล ให้ติดต่อส่วนราชการ(นายทะเบียน) ต้นสังกัดเพื่อทำประวัติ 3.1 กรณีผู้ป่วยนอก : สมัคร ณ สถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 3.2 กรณีผู้ป่วยใน : ไม่ต้องสมัคร แจ้งPID ชื่อ-นามสกุล แทนหนังสือต้นสังกัด สิทธิประโยชน์ 1. ไม่ต้องสำรองเงินจ่ายไปก่อน 2. ครอบคลุมทุกโรค

  31. ฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ สำนักงานกลางสารสนเทศ บริการสุขภาพ (สกส.) อนุมัติเข้าร่วมโครงการ วางเบิกเงิน โรงพยาบาล จ่ายเงินเข้าบัญชีธนาคาร ขอเลขอนุมัติ ขั้นตอนการจ่ายตรง

  32. การปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลการปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 1. ยกเลิก พรฏ. เดิม 8 ฉบับ 2. กำหนดสิทธิประโยชน์ด้านส่งเสริมป้องกันสุขภาพ 3. กำหนดให้มี “คณะกรรมการบริหารระบบสวัสดิการฯ” 4. กำหนดให้มีการเลือกใช้สิทธิสำหรับบุคคลในครอบครัว

  33. การปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลการปรับปรุงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 5. เบิกประกัน และเงินสวัสดิการฯ ได้ทั้ง 2 ทาง 6. กำหนดให้เบิกค่ารักษาใน รพ.เอกชนได้ แต่อาจจ่ายเพิ่ม 7. กำหนดให้ส่วนราชการมีหน้าที่จัดทำ “ฐานข้อมูล” 8. กำหนดให้ผู้มีสิทธิรับรองความถูกต้องของข้อมูลและเอกสาร 9. กำหนดบทลงโทษสำหรับผู้มีสิทธิ ส่วนราชการ และรพ.

  34. ตรวจสอบข้อมูลทางผ่าน Website www.cgd.go.th

  35. เลือก

  36. เลือก

  37. เลือก

  38. c7db5

  39. เลือก

More Related