1 / 20

Exchange rate Determination

Exchange rate Determination. EC 452. เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Introduction. ที่มาและความสำคัญ.

Download Presentation

Exchange rate Determination

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Exchange rate Determination EC 452 เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. Introduction ที่มาและความสำคัญ ความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนจะส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ การรู้ปัจจัยที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ทำให้สามารถรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและระบบเศรษฐกิจได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆทางเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ

  3. ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาผลเชิงประจักษ์ของ Interest, Inflation, GDP, Capital inflow/outflow, Export/Import, Term of trade(TOT) โดยดูจากความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ใช้ข้อมูล รายเดือน ตั้งแต่ พฤษภาคม/2000 ถึง มิถุนายน/2011 ในการทดสอบทฤษฏีดังกล่าว ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมากน้อยเพียงใด สอดคล้องกับทฤษฎีที่ได้เรียนมาในวิชา EC 452 หรือไม่ 2.ทำให้ภาครัฐสามารถดำเนินนโยบายที่มีประสิทธิภาพในการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ

  4. Theory การปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนตามกลไกตลาด • ดุลบัญชีการชำระเงิน = บัญชีเงินทุน + บัญชีเดินสะพัด • บัญชีเงินทุน • - Inflow > Outflow บาทแข็งค่าขึ้น • - Inflow < Outflow บาทอ่อนค่าลง • บัญชีเดินสะพัด • - Export > Import บาทแข็งค่าขึ้น • - Import< Export บาทอ่อนค่าลง

  5. Interest Rate Parity Theory • ถ้าอัตราดอกเบี้ยระหว่าง 2 ประเทศต่างกัน เงินทุนจะไหลจากประเทศที่อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าไปยังประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า • จนเข้าสู่เงื่อนไข Interest Rate Parity : RB = RS+(Ee-E)/E • ถ้า อัตราดอกเบี้ยไทยสูงขึ้น บาทแข็งค่าขึ้น • ถ้า อัตราดอกเบี้ยสหรัฐสูงขึ้น บาทอ่อนค่าลง

  6. แนวคิดทางการเสมอภาคในอำนาจซื้อ [ Purchasing Power Parity approach (PPP) ] • เชื่อว่าอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินตราสองประเทศจะเท่ากับสัดส่วนของระดับราคาของทั้งสองประเทศ • แบบสัมบูรณ์ : EHC/FC = P/P* • แบบเปรียบเทียบ : ( Et-E t-1 )/ Et = πt-π*t • πt > π*tเงินบาทมีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลง • πt < π*tเงินบาทมีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้น

  7. A Long-run Exchange Rate Model Based on PPP: Monetary Approach to the Exchange Rate • จากแนวความคิดการเสมอภาคในอำนาจซื้อ (PPP) โดยใช้ทฤษฎีตลาดการเงินเข้ามาอธิบายเพิ่มเติม • สูตร : E = (MS/MS*)/(MD/MD*) • ทำให้เรารู้เพิ่มเติมว่า ปริมาณเงิน, อัตราดอกเบี้ย, ระดับรายได้ ก็มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนผ่าน ทาง PPP ได้ด้วย • ถ้า MS PE (บาทอ่อนค่าลง) • ถ้า rMDPE(บาทอ่อนค่าขึ้น) • ถ้า Y MDPE (บาทแข็งค่าขึ้น)

  8. Methodology Variable Reviews

  9. ตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลอง 1. ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ย (Different interest) DIt= ith- itf DItคือ ส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย ณ ช่วงเวลาที่ t ithคือ อัตราดอกเบี้ยประเทศไทย ณ ช่วงเวลาที่ t itf คือ อัตราดอกเบี้ยต่างประเทศ (ประเทศสหรัฐอเมริกา) • 2. ความแตกต่างของอัตราเงินเฟ้อ (Difference Inflation) • Dinft= πth- πtf • Dinftคือ ส่วนต่างระหว่างอัตราเงินเฟ้อ ณ ช่วงเวลาที่ t • πthคือ อัตราเงินเฟ้อประเทศไทย ณ ช่วงเวลาที่ t • πtfคือ อัตราเงินเฟ้อประเทศสหรัฐอเมริกา ณ ช่วงเวลาที่ t

  10. 3. ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (Manufacturing Production Index)MPIt คือ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ณ ช่วงเวลาที่ t 4.เงินทุนเคลื่อนย้ายโดยเปรียบเทียบ  (Relative of capital flows) คือ สัดส่วนเงินทุนเคลื่อนย้ายโดยเปรียบเทียบ ณ ช่วงเวลาที่ t Capital inflowtคือ เงินทุนไหลเข้า ณ ช่วงเวลาที่ t Capital outflowtคือ เงินทุนไหลออก ณ ช่วงเวลาที่ t

  11. 5.มูลค่าการส่งออกและนำเข้าโดยเปรียบเทียบ (Relative export to import) RxmtRxmtคือ มูลค่าการส่งออกและนำเข้าโดยเปรียบเทียบณ ช่วงเวลาที่ tคือ มูลค่าการส่งออก ณ ช่วงเวลาที่ tคือ มูลค่าการนำเข้า ณ ช่วงเวลาที่ t

  12. รูปที่ 1 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราแลกเปลี่ยน & ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย รูปที่ 2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราแลกเปลี่ยน & ส่วนต่างเงินเฟ้อ Correlation = -0.495697 Correlation = -0.459086

  13. รูปที่ 3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน & MPI รูปที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน & สัดส่วนเงินทุนไหลเข้า Correlation = -0.928450 Correlation = 0.047015

  14. รูปที่ 5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน & สัดส่วนมูลค่าการค้า รูปที่ 6 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน &อัตราการค้า Correlation = -0.048799 Correlation = -0.429772

  15. แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา Log (E) = 0.543923 -0.001446DI +0.004121DINF -0.000564MPI -0.047418Log(RKA) -0.039813Log(RXM) -0.001176TOT +0.001796TOT(-1) +0.857338Log(E(-1)) +0.359471AR(1)

  16. แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา

  17. ข้อเสนอแนะของแบบจำลองและปัญหาที่พบข้อเสนอแนะของแบบจำลองและปัญหาที่พบ • แบบจำลองที่ใช้เป็นแบบจำลองที่ได้มาจากการประมาณค่าโดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด ซึ่งแบบจำลองนี้อาจจะไม่เหมาะสมกับการพยากรณ์อัตราแลกเปลี่ยนมากนัก • ตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองยังไม่ครบถ้วน อันเนื่องมาจากปัจจัยที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมีหลายปัจจัยมากรวมทั้งการแทรกแซงของธนาคารกลางและ shock ที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ • ข้อมูลที่ใช้ยังไม่ครอบคลุมระยะเวลาที่นานเพียงพออันเนื่องมาจากประเทศไทยพึ่งปรับอัตราแลกเปลี่ยนให้ลอยตัวในช่วงวิกฤตปี 40 • เกิดปัญหา Endogenous Variable อยู่

  18. Recommend Policy จากผลการประมาณค่าในแบบจำลอง พบว่าปัจจัยที่มีผลในการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมากที่สุดได้แก่ ปัจจัยทางด้านเงินทุนเคลื่อนย้าย และปัจจัยทางด้านบัญชีเดินสะพัด (ทั้งการนำเข้าและส่งออกสินค้า) ดังนั้นหากรัฐบาลต้องการที่จะควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการหรือเหมาะสม รัฐบาลสามารถดำเนินการผ่านช่องทางดังกล่าวเพื่อที่จะส่งผลไปยังอัตราแลกเปลี่ยนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าช่องทางอื่นๆ

  19. จัดทำโดย นาย ธนานันท์ กมลรัตน์มงคล 5104611222 นาย วิทวัต สุขพรสวรรค์ 5104611818 นาย วรุฒนิธิธนะกานต์ 5104680391 นาย นพดลมีนศิริสมบัติ 5104680474 นาย พีระสิษฐ์ ไตรรัตน์ผดุง 5104680490 น.ส. วานิสสา เสือนิล 5104680722 น.ส. ธีระนุช ตันธนะสฤษดิ์ 5014681399

More Related