1 / 27

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ : รูปแบบ ทิศทาง

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ : รูปแบบ ทิศทาง. ทรงฤทธิ์ มณีวงศ์วัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ความเป็นมา. สำนักหอสมุดของมหาวิทยาลัยได้จัดซื้อ software สำหรับจัดการห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบ Innopac เมื่อปี 2538 และได้ใช้ต่อเนื่องมาตลอด

cuthbert
Download Presentation

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ : รูปแบบ ทิศทาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ: รูปแบบ ทิศทาง ทรงฤทธิ์ มณีวงศ์วัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. ความเป็นมา • สำนักหอสมุดของมหาวิทยาลัยได้จัดซื้อ software สำหรับจัดการห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบ Innopac เมื่อปี 2538 และได้ใช้ต่อเนื่องมาตลอด • ระบบ Innopac แบ่งเป็น module ในแต่ละ module สามารถแบ่งย่อยๆ อีกหลายส่วน • Module หลักๆ ประกอบด้วย cataloguing, circulation, OPAC, acquisitions, serial control • ส่วนย่อยๆ ใน module หลัก เช่น advanced search (AltaVista), URL checker, Telephone Renewal เป็นต้น • ค่า license จะขึ้นอยู่กับส่วนต่างๆ ที่ทางห้องสมุดเลือกซื้อ

  3. ระบบ Innopac โดยย่อ • พัฒนาโดย Innovative Interfaces Inc. โดยมีการพัฒนาปรับปรุงต่อเนื่องมานาน • มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ จาก text-based system เป็น GUI ในส่วนของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน โดยเปลี่ยนชื่อเป็น Millennium • ในบางส่วนยังเปลี่ยนแปลงเป็น GUI ไม่สมบูรณ์ โดยทาง III ทำการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง: Release 2002, Silver, 2005, etc. • ข้อดี: ใช้กันอย่างกว้างขวาง, เสถียร, feature ค่อนข้างครบ, กลุ่มผู้ใช้ขนาดใหญ่, มีการดูแลโดย III • ข้อเสีย: แพง, แก้ไขเองไม่ได้, ต้องเสียค่าบำรุงทุกปี

  4. สาเหตุของการเริ่มพัฒนาสาเหตุของการเริ่มพัฒนา • ค่า upgrade version ให้เป็น Millennium สูงมาก • ระบบ Innopac มีข้อจำกัดในการเชื่อมต่อกับระบบอื่นในมหาวิทยาลัย • ผู้ใช้ต้องการคุณลักษณะบางประการที่ไม่มีอยู่ในระบบ Innopac • ทางมหาวิทยาลัยให้ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นผู้พัฒนาระบบใหม่ให้สำนักหอสมุด เมื่อปี 2547

  5. การสนับสนุนจาก สกอ. • สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา สกอ. ต้องการให้มีการพัฒนาระบบการจัดการห้องสมุดอัตโนมัติขึ้นมา โดยได้ร่วมกับ 3 มหาวิทยาลัยที่ได้มีการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) • นอกจากนั้น สกอ. ได้สนับสนุน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบเพิ่มเติมจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติซึ่งเป็น Opensource

  6. ข้อดีของการพัฒนาระบบฯ เอง • ข้อดี • ประหยัดค่าบำรุง software รายปีที่ต้องจ่ายให้บริษัทต่างประเทศ ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยที่ใช้ software สำเร็จรูปต้องเสียค่าบำรุงรายปี โดยรวมทุกมหาวิทยาลัยต้องเสียค่าบำรุงหลายสิบล้านบาท • ทำให้เกิดมาตรฐานในการเชื่อมต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล • ทำให้ระบบที่ต้องการใช้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ในประเทศมากขึ้น • เป็นการส่งเสริมการพัฒนาระบบ software ในประเทศ

  7. ข้อดีของการที่มีการพัฒนาระบบมากกว่าหนึ่งระบบข้อดีของการที่มีการพัฒนาระบบมากกว่าหนึ่งระบบ • เพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ • จากพื้นฐานการใช้งาน software ห้องสมุดของผู้พัฒนา มีการใช้ software ที่แตกต่างกันไป (Dynix, VTLS, Innopac) ทำให้ได้ 3 ระบบที่หลากหลาย • รูปแบบการดำเนินงานด้านห้องสมุดที่แตกต่าง ระหว่างกลุ่มผู้พัฒนา เช่น การมีวิทยาเขต ห้องสมุดสาขา ที่มีความต้องการในการจัดการห้องสมุดที่แตกต่าง • ทำให้เกิดการแข่งขันแบบสร้างสรรค์ เพื่อให้พัฒนาระบบได้ดีขึ้น • มีการประสานงานกัน และทำให้เกิดมาตรฐานการเชื่อมต่อ

  8. ข้อเสียของการพัฒนาระบบฯ เอง • เสียค่าใช้จ่ายในการพัฒนา • ระบบที่พัฒนาเสร็จอาจจะมีความไม่เสถียรในช่วงแรก ซึ่งต้องใช้เวลาปรับปรุงต่อไป • คุณลักษณะของระบบจะยังไม่ครบถ้วน แต่จะเน้นส่วนที่จำเป็นในการใช้งานก่อน

  9. แนวทางในการพัฒนาและดูแลระบบห้องสมุดอัตโนมัติแนวทางในการพัฒนาและดูแลระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ผู้ใช้ระบบ ผู้พัฒนาระบบ เก็บข้อมูลด้านความต้องการ ออกแบบ พัฒนา ทดสอบระบบ ระบบห้องสมุด ทดสอบระบบห้องสมุด ใช้ระบบห้องสมุด แก้ไข ปรับปรุง

  10. สถานะของการพัฒนาระบบฯ ของ มจธ • แบ่งออกเป็น การพัฒนาสำหรับใช้ภายใน มจธ และการพัฒนาให้มหาวิทยาลัยในประเทศ • Requirements แตกต่างกัน • ระบบ hardware และ software ที่ใช้อาจแตกต่างกัน • หลายๆ ส่วนสามารถใช้ code ร่วมกันได้ • สถานะของการพัฒนาระบบภายใน • พัฒนา OPAC เสร็จ, กำลังพัฒนา cataloguing • สถานะของการพัฒนาระบบในกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ • ตรวจสอบความพร้อมของ resource และความต้องการอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนือจากระบบภายใน

  11. Platform ของระบบที่พัฒนา สำหรับ มจธ. • OPAC: Web-based client • Module อื่นๆ: Java apps (อาจมี web interface บ้าง) • Servers: • Front-end: Intel based, running on Linux • Back-end: DB2 running on AIX • ส่วนที่เชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ ภายในมหาวิทยาลัย • LMS, E-learning • งานทะเบียน, งานบุคคล,LDAP

  12. Platform ของระบบที่พัฒนา สำหรับ สกอ. • รองรับ DBMS เพิ่มอีกหนึ่งทางเลือก Oracle/MySQL/Postgress • Front-end: Linux/Windows • Back-end: Windows/Linux/Unix • Front-end และ back-end สามารถอยู่ในเครื่องเดียวกันได้

  13. มาตรฐานที่ระบบสนับสนุนมาตรฐานที่ระบบสนับสนุน • MARC21 • All MARC record types : Bibliographic, Authority, Holding. • ISO2709 Exchange format • UTF-8 encoding • Z39.50 retrieval protocol • ISO 10160/10161 ILL • ISSN/ISBN • LCSH

  14. สถาปัตยกรรมโครงสร้างของระบบสถาปัตยกรรมโครงสร้างของระบบ • โครงสร้างของระบบ LM จะมีลักษณะเป็น multi-tier architecture • มีการแบ่งส่วนของ software เป็น module เพื่อแบ่งภาระงานและแยกส่วนต่างๆออกจากกันเพื่อให้ง่ายในการดูแลและปรับปรุงระบบ

  15. โครงสร้างระบบโดยรวม

  16. คุณลักษณะหลักของส่วน OPAC • Basic search: Search using indice (title, author, …), Multi level browsing, Limit Search, MARC/non-MARC display format • Mark desired records for exporting to file, e-mail • Advanced search: Multiple search terms with boolean operators, Limit by certain fields • Any position search option. • Broadcast search, Universal search • Search statistics

  17. Basic Search Example

  18. Any Position Search

  19. Broadcast Search

  20. Statistics Example

  21. คุณลักษณะหลักของส่วน Cataloguing • Record editor: Both in template and detail (MARC) mode. • Display bibliographic record as well as its attached records. • Separate holding record • Support authority record and authority control • Global update + rapid update • Reporting on list of records, statistics; barcode printing • Concurrent sessions • Support list of records: create, use, print • Import/Export records

  22. Global Update Screen

  23. Create Review File Screen

  24. อุปสรรคและปัญหาของการพัฒนาระบบอุปสรรคและปัญหาของการพัฒนาระบบ • ปัญหาที่เกิดจาก Requirements โดยคณะทำงาน ThaiLIS • มีรายละเอียดมาก ในบางข้อมีความขัดแย้งกัน • ทำในปี 2544 ซึ่งบางเทคโนโลยีนั้นได้ล้าสมัยหรือไม่เหมาะสม • มีความต้องการแบบครอบจักรวาล ถึงหากแม้พัฒนาระบบตามข้อกำหนดทั้งหมดได้อาจไม่ใช่ระบบที่ดีที่สุด • ปัญหาจากการทำงาน • นักคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจบรรณารักษ์ศาสตร์ บรรณารักษ์ไม่เข้าใจโครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ • มีการเปลี่ยนคนในทีมพัฒนา

  25. ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการใช้ระบบปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการใช้ระบบ • การถ่ายโอนข้อมูลระหว่างระบบปัจจุบันกับระบบใหม่ • การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ห้องสมุด • ขีดความสามารถในการสนับสนุนของผู้พัฒนาระบบ

  26. ระบบที่พัฒนาเสร็จแล้วระบบที่พัฒนาเสร็จแล้ว คาดหวังอะไรจาก Version 1? • ใช้งานพื้นฐานของแต่ละ module ได้ • มีมาตรฐานในการเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ ที่ สกอ. สนับสนุน และระบบสำคัญๆ ของ ThaiLIS • เน้นคุณลักษณะที่จำเป็นต้องใช้ก่อน • มีความไม่เสถียรอยู่บ้าง

  27. ระบบในอนาคต Version 2 ปรับปรุงอะไรบ้าง • แก้ bug ต่างๆ ที่พบใน version 1 Version ต่อๆ ไป • เพิ่มคุณลักษณะต่างๆที่ขาดเข้าไป • รองรับแนวทางห้องสมุดในอนาคต:Union Circulation, RF ID, Electronic resource management, life long learning, information commons, E-learning, etc.

More Related