1 / 91

บทที่ 1

บทที่ 1. แนวคิดเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ เชิงปริมาณ. แนวคิดเกี่ยวกับ QA. QA – กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการรวบรวมข้อมูลและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง นำมาประเมินเป็นตัวเลขโดยใช้หลักตรรกวิทยา คณิตศาสตร์ และสถิติ เป็นเครื่องมือเพื่อการตัดสินใจในการปฎิบัติงาน

coty
Download Presentation

บทที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

  2. แนวคิดเกี่ยวกับ QA • QA – กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการรวบรวมข้อมูลและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง นำมาประเมินเป็นตัวเลขโดยใช้หลักตรรกวิทยา คณิตศาสตร์ และสถิติ เป็นเครื่องมือเพื่อการตัดสินใจในการปฎิบัติงาน • QA – เป็นความรู้ในสาขาเศรษฐศาสตร์ที่นำไปใช้วิเคราะห์ปัญหา ค้นหาคำตอบ เพื่อสรุปการตัดสินใจ

  3. ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ • การสังเกต(Observation) • การกำหนดปัญหา (Definition of the Problem) • การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) • การทดลอง (Experimental) • การสรุป (Conclusion)

  4. กระบวนการตัดสินใจการวิเคราะห์เชิงปริมาณกระบวนการตัดสินใจการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ไม่ยอมรับ

  5. สาเหตุของความล้มเหลวของ QA • การระบุปัญหาผิดพลาด • ใช้เวลามากเกินไป • การเสียค่าใช้จ่ายที่สูง • การกำหนดหลักเกณฑ์ที่เน้นทฤษฎีมากเกินไป • การมีพฤติกรรมต่อต้านจากผู้เกี่ยวข้อง • ไม่สามารถทำให้ผู้เกี่ยวข้องยอมรับ

  6. ลักษณะของงานที่ใช้กับ QA

  7. บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ

  8. ความหมายของการตัดสินใจความหมายของการตัดสินใจ • การตัดสินใจ(Decision Making) – การพิจารณาเลือกทางเลือกที่มีอยู่มากกว่า 1 ทางเลือก • การตัดสินใจสามารถจำแนกได้เป็น 3 ชนิด คือ • การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน (Decision making under condition of certainty) • การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง (Decision making under condition risk) • การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (Decision making under uncertainty)

  9. การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง • การตัดสินใจที่ไม่ทราบผลลัพธ์ที่แน่ชัดว่าจะเกิดเหตุการณ์ใดขึ้น • ทราบถึงโอกาสหรือความน่าจะเป็น(Probability)ที่จะเกิดเหตุการณ์ จน.เหตุการณ์ที่สนใจ/คาดหวัง จน.เหตุการณ์ทั้งหมด ความน่าจะเป็น (Probability) =

  10. ตัวแบบการตัดสินใจ • เมทริกซ์การตัดสินใจ (Decision matrix) • การแสดงข้อมูลการตัดสินใจในรูปตาราง • แขนงการตัดสินใจ (Decision tree) • การแสดงข้อมูลในรูปแผนภาพ

  11. เมทริกซ์การตัดสินใจ ให้แกนนอนแทนทางเลือก แกนตั้งแทนเหตุการณ์ โดยที่ Cijแทน ผลตอบแทนหรือผลลัพธ์ของทางเลือกที่ i เหตุการณ์ j

  12. มูลค่าคาดหวังทางการเงิน (EMV) Expected Monetary Value : EMV • มูลค่าของต้นทุนหรือกำไรเมื่อนำเอาค่าความน่าจะเป็นเข้ามาพิจารณาในการคำนวณมูลค่านั้น ๆ EMV = มูลค่าของต้นทุนหรือกำไร  ความน่าจะเป็น EX. ผู้ประกอบการคาดว่ามีโอกาสถึง 70% ที่จะมีกำไร 50,000 บาท แต่ก็มีโอกาส 30% ที่จะกำไรเพียง 40,000 บาท  EMV = (50,00000.7) + (40,0000.3) = 47,000 บาท

  13. EX.I – ร้านดอกไม้แห่งหนึ่งกำลังพิจารณาที่จะสั่งดอกไม้มาจำหน่าย โดยต้นทุนของดอกไม้ 30 บาท/ดอก แล้วนำมาจำหน่ายหน้าร้าน ราคา 50 บาท/ดอก อย่างไรก็ตามหากดอกไม้จำหน่ายไม่หมดภาย ใน 3 วัน จะนำมาเลหลังในราคา 10 บาท/ดอก จากข้อมูลการจำหน่ายที่ผ่านมาเป็นดังนี้ ร้านดอกไม้แห่งนี้ควรจะสั่งดอกไม้มาจำหน่ายกี่ดอก

  14. แขนงการตัดสินใจ • หลักการสร้างแขนงการตัดสินใจ • สร้างแขนงการตัดสินใจจากซ้ายไปขวา • ทางเลือกของจุดตัดสินใจต้องมีมากกว่า 1 ทางเลือก • ที่ปลายทางของแขนงการตัดสินใจทางเลือกทุกทางเลือกจะต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเสมออย่างน้อย 1 เหตุการณ์ • แขนงการตัดสินใจสุดท้ายของแต่ละทางเลือกจะสิ้นสุดด้านขวามือ

  15. C11 เหตุการณ์ 1 จุดตัดสินใจ เหตุการณ์ 2 C12 ทางเลือกที่ 1 เหตุการณ์ 3 C13 C21 เหตุการณ์ 1 ทางเลือกที่ 2 เหตุการณ์ 2 C22 เหตุการณ์ 3 C23

  16. EX.II- บริษัทผลิตรถแทรกเตอร์สนใจจะสร้างรถเกี่ยวข้าวรุ่นพิเศษ โดยจ้างสถาบันวิจัยวิศวกรรมออกแบบ และตั้งงบประมาณไว้ 2.5 ล้านบาท(ดำเนินการยื่นซองประกวดราคา) สถาบันวิจัยไทยวิศวกรรมพิจารณาที่จะยื่นซองประกวดราคาและ ประมาณค่าใช้จ่ายไว้ 5 แสนบาท ซึ่งมีโอกาสที่จะได้ทำสัญญา (ชนะการยื่นประกวดราคา)มีเพียง 50% อย่างไรก็ตามถ้าได้ทำสัญญาจะต้องพิจารณาเลือกวิธีการออกแบบ ซึ่งมี 3 วิธี ดังนี้คือ หน่วย : บาท

  17. บทที่ 3 การวิเคราะห์ข่ายงานและควบคุมฯ

  18. PRRT & CPM • PERT : Program Evaluation and Review Technique • CPM : Critical Path Method • ความแตกต่างระหว่าง PERT & CPM • PERT จะใช้กับโครงการที่ยังไม่เคยทำมาก่อน ขณะที่ CPM ใช้กับโครงการที่ทราบเวลาการเสร็จสิ้นที่แน่นอน หรือเคยทำมาก่อนแล้ว

  19. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข่ายงานวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข่ายงาน • เพื่อช่วยในการวางแผนโครงการ • คำนวณระยะเวลาในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม • เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ • กิจกรรมใดล่าช้าได้ และกิจกรรมใดล่าช้าไม่ได้ • เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ • การควบคุมการใช้ทรัพยากรและการใช้งานให้เกิดประโยชน์มากที่สุด • เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ • เพื่อให้โครงการดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย

  20. วิธีสร้างข่ายงาน : หลักการเขียนข่ายงาน • สัญลักษณ์ เส้นตรง แสดงทิศทางของความคืบหน้างาน/กิจกรรม วงกลม แสดงเหตุการณ์กำกับด้วยตัวเลข เส้นไข่ปลา แสดงขั้นตอนของเหตุการณ์สมมติ กิจกรรม A เหตุการณ์ 1 เหตุการณ์ 2 1 2

  21. วิธีสร้างข่ายงาน : การใช้ลูกศร • ข้อหลีกเลี่ยง • ลูกศรต้องเป็นเส้นตรงเสมอ เป็นเส้นโค้งไม่ได้ • หลีกเลี่ยงการเขียนลูกศรทับกัน • ตัวเลขในวงกลมต้องเรียงตามลำดับเหตุการณ์ • จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดจะต้องมีเพียงจุดเดียวเท่านั้น • ข่ายงานที่เหมาะสมที่จะใช้กิจกรรมสมมติ • หลีกเลี่ยงการใช้กิจกรรมสมมติ

  22. EX I – จงสร้างข่ายงานต่อไปนี้ 1. A และ B เป็นกิจกรรมเริ่มต้นที่ทำไปพร้อมกัน 2. A ต้องทำเสร็จก่อน C 3. B ต้องทำเสร็จก่อน D 4. C,D ต้องทำเสร็จก่อน E

  23. EX II– จงสร้างข่ายงานต่อไปนี้

  24. การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด (Earliest Start : ES) – เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมถัดไปจะเริ่มต้นได้ หลังจากที่กิจกรรมก่อนหน้านี้ได้เสร็จสิ้นหมดทุกกิจกรรม ESj = Maxi[ESi + Dij] เมื่อ ESi = เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุดของเหตุการณ์ i ESj = เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุดของเหตุการณ์ j Dij = เวลาในการทำงานจาก i ไป j

  25. การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเวลาเสร็จงานช้าที่สุด (Latest Completion Time : LT) – เวลาที่ช้าที่สุดที่ยอมให้เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น โดยไม่ทำให้โครงการล่าช้าเมื่อมีการกำหนดเวลาทั้งหมดของโครงการ LTi = Minj[LTj - Dij] เมื่อ LTi = เวลาเสร็จงานช้าที่สุดของเหตุการณ์ i LTj = เวลาเสร็จงานช้าที่สุดของเหตุการณ์ j Dij = เวลาในการทำงานจาก i ไป j

  26. การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเส้นทางวิกฤติ (Critical Path) – เส้นทางที่เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดและเวลาเสร็จงานช้าที่สุดเท่ากัน นั่นคือกิจกรรมบนเส้นทางวิกฤติจะไม่สามารถล่าช้าได้เลย ES = LT

  27. การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเวลาสำรองเหลือ 1.) Free Float : FF – เวลาที่กิจกรรมหนึ่งสามารถยืดออกไปได้ โดยไม่กระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการและเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่อยู่ต่อเนื่องต้องเลื่อนตามไปด้วย 2.) Total Float : TF – เวลาที่กิจกรรมหนึ่งสามารถยืดออกไปได้ โดยไม่กระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการแต่อาจกระทบต่อเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่อยู่ต่อเนื่อง

  28. สูตรคำนวณเวลาสำรองเหลือสูตรคำนวณเวลาสำรองเหลือ FF = ESj – ESi - Dij TF = LTj – ESi - Dij

  29. EX III 6 3 13 2 10 0 4 B 3 A 13 10 0 5 3 E 1 4 5 5 C 3 5 D 3

  30. การประมาณการเวลา:งานที่ไม่เคยทำ • การหาเวลาประมาณการ(te) a + 4m + b 6 te = เมื่อ a = เวลาอย่างต่ำ m = เวลาปานกลาง b = เวลาสูงสุด

  31. บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้นตรง

  32. การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) • Linear หมายถึง สมการทางคณิตศาสตร์ที่เขียนขึ้นเพื่ออธิบายตัวแปร ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในลักษณะเป็นสมการเชิงเส้นตรง • Programming หมายถึง การวางแผน • Linear Programming – ถูกนำมาใช้ในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การวางแผนด้านการผลิต การลงทุนการตลาด เป็นต้น จึงถือว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหาทางธุรกิจ

  33. การประยุกต์ใช้ Linear Programming • การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด • การตัดสินใจเกี่ยวกับปริมาณการผลิตสินค้า • การมอบหมายงานให้กับบุคลากร • การตัดสินใจเกี่ยวกับส่วนผสมของวัตถุดิบที่เหมาะสม • การตัดสินใจในการจัดสรรเงินลงทุน • การเลือกสื่อโฆษณา • การตัดสินใจด้านยุทธการ

  34. ขั้นตอนการ Linear Programming วิธีการแก้ปัญหาโดยใช้การโปรแกรมเชิงเส้น แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน

  35. การสร้างตัวแบบของปัญหาการสร้างตัวแบบของปัญหา • การสร้างตัวแบบของปัญหา ประกอบด้วย 1.1) การสร้างสมการเป้าหมาย (Objective Function) 1.2) การเขียนข้อจำกัด/เงื่อนไข (Constraints) 1.3) กำหนดให้ตัวแปรทุกตัวไม่ติดลบ (Non Negative Restriction)

  36. การสร้างสมการเป้าหมาย(Objective Function) 1.) การกำหนดตัวแปรการตัดสินใจ 2.) กำหนดสมการเป้าหมาย ซึ่งอยู่ในรูปทั่วไป ดังนี้ Max. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn หรือ Min. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn เมื่อ Xn = ตัวแปรการตัดสินใจที่ยังไม่ทราบค่า ซึ่งต้องการ หาคำตอบ Cn = ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรการตัดสินใจ

  37. การเขียนเงื่อนไข-ข้อจำกัด(Constraints)การเขียนเงื่อนไข-ข้อจำกัด(Constraints) เขียนอยู่ในรูปทั่วไป ดังนี้ a11 X1 + a12 X2 +…+ C1nXn  ,  b1 a21 X1 + a22 X2 +…+ C2nXn  ,  b2 am1 X1 + am2 X2 +…+ CmnXn  ,  bm เมื่อ amn = ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่ m bm = ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ m . . . . . .

  38. X1, X2, X3,… Xn 0 กำหนดให้ตัวแปรทุกตัวไม่ติดลบ(Non Negative Restriction) การกำหนดว่าตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 การสร้างตัวแบบของปัญหา 1.) สมการเป้าหมาย Max. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn หรือ Min. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn 2.) เงื่อนไข/ข้อจำกัด a11 X1 + a12 X2 +…+ C1nXn  ,  b1 a21 X1 + a22 X2 +…+ C2nXn  ,  b2 am1 X1 + am2 X2 +…+ CmnXn ,  bm 3.) ตัวแปรไม่ติดลบ X1, X2, X3,… Xn 0

  39. Ex.I - ร้านเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่ง มีการผลิตโต๊ะและเก้าอี้ ซึ่งมีขั้นตอน 2 ขั้นตอน คือ การประกอบ และการตกแต่ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ในการจำหน่ายโต๊ะกำไร 8 บาท/ตัว กำไรในการจำหน่ายเก้าอี้ 6 บาท/ตัว ร้านแห่งนี้ควรจะผลิตสินค้า 2 ชนิดนี้อย่างไรจึงจะได้กำไรสูงสุด

  40. การแก้ตัวแบบของปัญหา • มี 2 วิธี คือ 1.) วิธีกราฟ (Graph method) 2.) วิธีซิมเพล็ก (Simplex method) เนื่องจากวิธีซิมเพล็กเป็นวิธีการที่ค่อนข้างซับซ้อน(ซึ่งปัจจุบัน มีโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้หาคำตอบ) ดังนั้นในที่นี้จะขออธิบายเฉพาะ วิธีการแก้ปัญหาด้วยกราฟเท่านั้น

  41. บทที่ 5 ทรัพยากรคงคลัง

  42. นิยามของทรัพยากรคงคลังนิยามของทรัพยากรคงคลัง • หมายถึง ของใด ๆ ที่เก็บไว้ในโกดัง คลังสินค้า หรือสถานที่เก็บสินค้าเพื่อรอการนำไปใช้ สามารถจำแนกออกได้เป็น 4 ประเภท คือ • วัตถุดิบ (Raw Materials) • สินค้าระหว่างการผลิต (Work in Process) • วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ (Factory Supplies) • สินค้าสำเร็จ (Finish Goods)

  43. หน้าที่ของทรัพยากรคงคลังหน้าที่ของทรัพยากรคงคลัง • ทำให้การผลิตดำเนินไปโดยราบรื่น • มีสินค้าขายได้ตลอดปีแม้การผลิตไม่ต่อเนื่อง • มีสินค้าขายได้ตลอดปี แม้การผลิตเพียงปีละครั้ง • คนงานมีงานทำตลอดปี • เพื่อการเก็งกำไร

  44. ข้อดี/ข้อเสียของทรัพยากรคงคลังข้อดี/ข้อเสียของทรัพยากรคงคลัง

  45. ต้นทุนของทรัพยากรคงคลังต้นทุนของทรัพยากรคงคลัง

  46. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด(Economic Order Quantity : EOQ) ต้นทุนสั่งซื้อ = 20 บาท/ครั้ง ความต้องการใช้ = 1,200 ชิ้น/ปี ต้นทุนเก็บรักษาร้อยละ = 12 ของมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ย

  47. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด(Economic Order Quantity : EOQ) 2KD H Q* = KD Q* Q* 2 TC = H CD + + เมื่อ D = ความต้องการใช้ทั้งปี K = ต้นทุนการสั่งซื้อ (บาท/ครั้ง) H = ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วย (บาท/หน่วย) C = ราคาของทรัพยากรคงคลัง (บาท/หน่วย)

  48. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดแบบมีเงื่อนไขปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดแบบมีเงื่อนไข 2KD (H + iCj) Q* = KD Q* Q* 2 TC = (H +iCj) CjD + + เมื่อ i = ต้นทุนการเก็บรักษา (ร้อยละของมูลค่าทรัพยากรฯ) Cj = ราคาของทรัพยากรคงคลัง เงื่อนไข j (บาท/หน่วย)

More Related