1 / 57

เปรียบเทียบมาตรฐานความแข็ง Vickers ระหว่าง ASTM E384-11 และ ISO 6507:2005

เปรียบเทียบมาตรฐานความแข็ง Vickers ระหว่าง ASTM E384-11 และ ISO 6507:2005. By Tassanai SANPONPUTE Head of Hardness and Torque laboratory N ational I nstitute of M etrology ( T hailand ). วัตถุประสงค์. เพื่อให้ผู้ใช้งานเลือกปฏิบัติตามมาตรฐานได้เหมาะสมกับตน

corine
Download Presentation

เปรียบเทียบมาตรฐานความแข็ง Vickers ระหว่าง ASTM E384-11 และ ISO 6507:2005

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เปรียบเทียบมาตรฐานความแข็ง Vickers ระหว่าง ASTM E384-11 และ ISO 6507:2005 By Tassanai SANPONPUTE Head of Hardness and Torque laboratory National Institute of Metrology ( Thailand )

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ใช้งานเลือกปฏิบัติตามมาตรฐานได้เหมาะสมกับตน • เพื่อให้ผู้ใช้งานและผู้ให้บริการสอบเทียบปรับเปลี่ยนวิธีการใช้อ้างอิงให้ทันสมัยเป็นไปตามเอกสารล่าสุด • เพื่อให้ผู้ให้บริการสอบเทียบ ให้บริการตามวิธีการที่ลูกค้าร้องขอได้อย่างถูกต้อง • เพื่อให้เห็นความเหมือนและความแตกต่างของมาตรฐานทั้งสอง Note: เอกสารการบรรยายนี้ พยายามจัดทำด้วยภาษาไทยให้มากที่สุด อย่างไรก็ตาม มีศัพท์ทางวิชาการบางคำที่จำเป็นต้องใช้ทับศัพท์ตามเอกสารมาตรฐานเพื่อลดความสับสน

  3. หลักการทดสอบ

  4. หลักการทดสอบ ( ต่อ ) tTA VA tTF ผิวชิ้นงาน 4

  5. หลักการทดสอบ ( ต่อ ) d2 Vickers hardness number, HV = = = 0.1891· d1 และ d = เมื่อ F = แรงกดในหน่วย N d = เส้นทแยงมุมเฉลี่ยในหน่วย mm d1, d2 = เส้นทแยงมุมของหลุมกดทั้ง 2 ด้าน ในหน่วย mm 5

  6. หลักการทดสอบ ( ต่อ ) เมื่อ Fคือแรงกดในหน่วยของ N dคือค่าเฉลี่ยเส้นทะแยงมุมของหลุมในหน่วย mm HVคือ ค่าความแข็ง Vickers หน่วน HV เช่น 400 HV0.1( 0.1 คือแรงกด ในหน่วย kgf ) สูตรคำนวณค่าความแข็งและหน่วย เมื่อ Fคือแรงกดในหน่วยของ kgf dคือค่าเฉลี่ยเส้นทะแยงมุมของหลุมในหน่วย mm HVคือ ค่าความแข็ง Vickers หน่วน HV เช่น 400 HV0.1( 0.1 คือแรงกด ในหน่วย kgf ) เมื่อ Fคือแรงกดในหน่วยของ kgf dคือค่าเฉลี่ยเส้นทะแยงมุมของหลุมในหน่วย mm HVคือ ค่าความแข็ง Vickers หน่วน GPaเช่น 3.92 GPa

  7. หน่วยย่อย (hardness scale) และช่วงการวัด 5 0.2 *ช่วงที่แบ่งมีผลต่อการทดสอบ และการทวนสอบเครื่อง Vickers *ASTM E384-11 ได้รวม Vickers และ Knoopไว้ในฉบับเดียวกัน *ASTM E384-11 ครอบคลุมช่วงการวัดถึง HV0.001

  8. Indenterที่ใช้

  9. tTA VA tTF จังหวะการทดสอบ ( Testing Cycle ) ผิวชิ้นงาน 9

  10. จังหวะการทดสอบ ( Testing Cycle ) ( ** recommend )

  11. Microscope

  12. Microscope

  13. ระยะห่างระหว่างหลุมกดระยะห่างระหว่างหลุมกด

  14. งานผิวโค้ง * ค่าชดเชยในตาราง ASTM และ ISO เป็นค่าเดียวกัน

  15. ASTM E384-11 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  16. ASTM E384-11 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  17. ISO 6507-1 : 2005 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  18. ISO 6507-1 : 2005 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  19. ISO 6507-1 : 2005 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  20. ISO 6507-1 : 2005 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  21. ISO 6507-1 : 2005 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  22. ISO 6507-1 : 2005 งานผิวโค้ง ( ต่อ )

  23. ความหนาชิ้นงาน คำถาม เราจะรู้ความลึกของหลุมกดได้อย่างไร?

  24. ISO 6507-1 : 2005, Annex A ความหนาชิ้นงาน( ต่อ )

  25. ISO 6507-1 : 2005, Annex A ความหนาชิ้นงาน( ต่อ ) Scale HV / Force, N Thickness / Diagonal Hardness level

  26. ผิวชิ้นงานทดสอบ วิธีการทดสอบความขนานและแนวกดตั้งฉาก?

  27. การทวนสอบระหว่างการใช้งาน โดยผู้ใช้งาน ผลของการทวนสอบระหว่างการใช้งาน สามารถนำไปประเมินความไม่แน่นอนในการทดสอบเนื่องจาก Reproducibility

  28. สูตรคำนวณความคลาดเคลื่อนสูตรคำนวณความคลาดเคลื่อน

  29. การทวนสอบระหว่างการใช้งาน โดยผู้ใช้งาน ( ASTM E384-11 )

  30. การทวนสอบระหว่างการใช้งาน โดยผู้ใช้งาน ( ISO6507-2:2005 )

  31. ตาราง A1.5 และ A1.6 ( ASTM E384-11 )

  32. ตาราง 4 ( ISO 6507-2 : 2005 )

  33. ตาราง 5 ( ISO 6507-2 : 2005 )

  34. ข้อกำหนดการสอบเทียบ

  35. ช่วงเวลาสอบเทียบ ( Direct verification ) สรุป : ในข้อกำหนดของ ASTM มีความต้องการให้ทำ direct verification เพียงครั้งเดียว ( **แต่มีคำแนะนำใน ASTM ไห้ทำ direct verification อย่างสม่ำเสมอ )

  36. ช่วงเวลาสอบเทียบ ( Indirect verification )

  37. ข้อกำหนดการสอบเทียบแรงกดข้อกำหนดการสอบเทียบแรงกด * ตามตาราง A1.2 ของ ASTM E384-11 และตาราง 1 ของ ISO 6507-2 : 2005 ** ความถูกต้อง ( accuracy ) ใน ASTM E384-11 หมายถึงค่าคลาดเคลื่อน

  38. ข้อกำหนดการสอบเทียบแรงกดข้อกำหนดการสอบเทียบแรงกด ASTM E384-11 ISO 6507-2 : 2005

  39. ข้อกำหนดการสอบเทียบระบบวัดข้อกำหนดการสอบเทียบระบบวัด

  40. เครื่องมือสำหรับสอบเทียบระบบวัดเครื่องมือสำหรับสอบเทียบระบบวัด ISO 6507-2 : 2005

  41. ข้อกำหนดการสอบเทียบ testing cycle

  42. ข้อกำหนดการสอบเทียบ testing cycle Testing cycle of Rockwell hardness testing machine from TCVU

  43. ข้อกำหนดการสอบเทียบ Indenter

  44. ข้อกำหนดการสอบเทียบ Indenter ( ต่อ )

  45. Indirect verification

  46. Indirect verification ( ต่อ )

  47. ตาราง A2.1 และ A2.2 ( ASTM E384-11 )

  48. ตาราง A1.5 และ A1.6 ( ASTM E384-11 )

  49. ตาราง 4 ( ISO 6507-2 : 2005 )

  50. ตาราง 5 ( ISO 6507-2 : 2005 )

More Related