1 / 68

05-530-111 Computer Programming 1

05-530-111 Computer Programming 1. บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม. เนื้อหารายวิชา (Course Description). 05-530-111 Computer Programming 1.

corine
Download Presentation

05-530-111 Computer Programming 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 05-530-111Computer Programming 1

  2. บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม

  3. เนื้อหารายวิชา (Course Description) 05-530-111Computer Programming 1 การเขียนผังงาน ภาษาสําหรับเขียนโปรแกรม ประเภทขอมูลแบบตางๆ คาคงที่ ตัวแปร นิพจนและตัวกระทําการ คําสั่งในการควบคุมการทํางาน อารเรย โปรแกรมยอยและอารกิวเมนตวิธีการนําขอมูลเขา-ออก อยางงาย การเขียนโปรแกรมเพื่อทํางานกับแฟมขอมูล รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ดี เทคนิคการแกปญหาตางๆ

  4. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน (Grading) • การสอบกลางภาค30% • การสอบปลายภาค30% • การบ้าน10% • การสอบย่อย 10% • การสอบปฏิบัติการ 20%

  5. ผังงานที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้ผังงานที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้ การเขียนผังงาน (Flowchart) (1) มีความถูกต้องตรงกับความต้องการ (2) ควรใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด (3) สั้น กระชับ รัดกุม มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น (4) มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต (5) ควรใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด (6) ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และการนำไปใช้งาน

  6. ผังงานกับชีวิตประจำวันผังงานกับชีวิตประจำวัน

  7. ตัวอย่างผังงานขั้นตอนส่งจดหมายตัวอย่างผังงานขั้นตอนส่งจดหมาย

  8. ตัวอย่างผังงานการถอนเงินจาก ATM

  9. ตัวอย่างผังงานการทานยาตัวอย่างผังงานการทานยา

  10. ผังระบบ • หมายถึง ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานของระบบทั้งหมด • แสดงถึงอุปกรณ์ในรับข้อมูล เอกสารเบื้องต้น สื่อบันทึกข้อมูล วิธีการประมวลผล สูตรที่ใช้ในการคำนวณ การแสดงผลลัพธ์และอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลัพธ์ในแต่ละจุดของผังงาน • เป็นแสดงการทำงานทั้งระบบอย่างกว้าง ๆ ไม่ละเอียด

  11. ตัวอย่างผังระบบคำนวณบัญชีเงินเดือนตัวอย่างผังระบบคำนวณบัญชีเงินเดือน

  12. ตัวอย่างผังระบบการจ่ายเงินเดือนตัวอย่างผังระบบการจ่ายเงินเดือน

  13. ผังโปรแกรม • เป็นเครื่องมือ (Tools) ที่ใช้อธิบายหรือแสดงขั้นตอนของคำสั่งการทำงานอย่างละเอียด • ใช้สัญลักษณ์ในการเขียนผังงานเช่นเดียวกับการเขียนผังงานระบบ • เป็นการวางแผนการเขียนโปรแกรมโดยผังงานโปรแกรมจะแสดงลำดับคำสั่งเป็นขั้นตอนในการปฏิบัติงานอย่างละเอียด • ส่วนใหญ่การเขียนผังงานจะมีลักษณะเป็นโครงสร้าง(Structure Flowchart)

  14. ผังโปรแกรมโครงสร้าง • 1 การทำงานแบบเป็นลำดับ (Sequence) • 2 การทำงานแบบเลือกทำ (Selection) • หนึ่งทางเลือก (One Alternative) • สองทางเลือก (Two Alternative) • หลายทางเลือก (Multiple-Alternative) • 3. การทำงานแบบทำซ้ำหรือวนรอบ (Loop) • การทำงานแบบทำซ้ำแบบเงื่อนไขเป็นจริง (DO-WHILE) • การทำงานแบบทำซ้ำจนเงื่อนไขเป็นจริง (DO-UNTIL หรือ REPEAT-UNTIL) • การทำงานแบบทำซ้ำตามจำนวนรอบที่ระบุ (FOR Loop)

  15. Flow Chart แบบลำดับ

  16. Flowchart แบบทางเลือก • แบบ 1 ทางเลือก

  17. ตัวอย่าง Flowchart แบบทางเลือก

  18. Flowchart สองทางเลือก

  19. ตัวอย่าง Flowchart สองทางเลือก

  20. Flowchart หลายทางเลือก

  21. ตัวอย่าง Flowchart หลายทางเลือก

  22. Flowchart แบบ switch, case

  23. ตัวอย่าง Flowchart แบบ switch, case

  24. Flowchart แบบวนลูป ชนิด Do-while

  25. Flowchart แบบวนลูป ชนิด Repeat-Until

  26. Flowchart แบบวนลูป ชนิด For-Loop

  27. ประโยชน์ของผังงาน • 1. ลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม และสามารถนำไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน • 2. ตรวจสอบความถูกต้อง และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด • 3. การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไข ทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว • 4. ทำให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น

  28. วิธีการเขียนผังงานที่ดีวิธีการเขียนผังงานที่ดี • 1. ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำหนดไว้ • 2. ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา • 3. คำอธิบายในภาพสัญลักษณ์ผังงานควรสั้นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย • 4. ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก • 5. ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน • 6. ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำงานก่อนนำไปเขียนโปรแกรมจริง

  29. การโปรแกรม (programming) เป็นการแก้ปัญหาโดยใช้คอมพิวเตอร์ • การโปรแกรมประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ • อัลกอริทึม • การ codingprogram

  30. ภาษาคอมพิวเตอร์(Computer Language) • ภาษาเครื่อง (Machine Language) • ภาษาแอสเซ็มบลี (Assembly Language) • ภาษาระดับสูง (High-Level Language) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้จากภาษาเครื่องเท่านั้น!

  31. การแปลภาษา Source Program Compiler Executable Program Test.c #include <stdio.h> void main( ) { printf(“Hello”); getch(); }

  32. การแปลภาษา • มี2 ชนิด คือ • Compilerทำการอ่านโปรแกรมทั้งหมดในครั้งเดียว จากนั้นทำการแปลเป็น executable program • Interpreterทำการอ่านแล้วแปลทีละ 1 คำสั่ง(บรรทัด)

  33. แนะนําภาษาซี • ภาษาโปรแกรม (Programing Language) • คือภาษาที่ถูกคิดค้นขึ้นมาใช้กับคอมพิวเตอร์ • ปัจจุบันมีหลายพันภาษา แต่ภาษาที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่นิยมใช้ทั่วไปนั้นอาจจะมีเพียงหลายสิบภาษา • แต่ละภาษา สร้างขึ้นด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันและมีจุดเด่นของภาษาที่ต่างกัน

  34. แนะนําภาษาซี (ต่อ)

  35. แนะนําภาษาซี (ต่อ) • ภาษาซี (C Programming Language) • เป็นภาษาเชิงโครงสร้างที่มีการออกแบบโปรแกรมในลักษณะโมดูลที่มีจุดเด่นในเรื่อง • ประสิทธิภาพด้านความเร็วของการทํางาน • ความยืดหยุ่นสูงในการเขียนโปรแกรม

  36. ความเร็วของแต่ละภาษา

  37. ประวัติความเป็นมา • ภาษาซีได้รับการพัฒนาขึ้นโดย เดนนิส ริทชี (Dennis Ritchie) ขณะที่ทํางานอยู่ที่เบลแล็บบอราทอรี (Bell Laboratories) โดยพัฒนาขึ้นจากหลักการพื้นฐานของภาษาบี (B) และบีซีพีแอล (BCPL) ในช่วงปี ค.ศ.1971 ถึง 1973 โดยได้เพิ่มชนิดข้อมูลและความสามารถอื่น ๆ ให้มากขึ้น

  38. Dennis Ritchie ประวัติความเป็นมา (ต่อ) B C BCPL

  39. รูปแบบโปรแกรมภาษาซี • ในการเขียนภาษาโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องศึกษา รูปแบบพื้นฐานของภาษา และ ไวยากรณ์ ของภาษานั้น รูปแบบพื้นฐานของภาษาจะเขียนโปรแกรมในลักษณะของโมดูล คือมีการแบ่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ ที่เรียกว่า ฟังก์ชัน (Function)

  40. กระบวนการที่สำคัญ ในการเขียนโปรแกรม กระบวนการ ที่สำคัญ ในการเขียนโปรแกรม คือ • การรับข้อมูล • การประมวลผลข้อมูล • การแสดงผลข้อมูล การรับข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูล

  41. ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น #include <stdio.h> void main( ) { /* Display message to standard output */ printf(“My first program.”); } My first program.

  42. ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น Header #include <stdio.h> void main( ) { /* Display message to standard output */ printf(“My first program.”); }

  43. ส่วนประกอบที่ 1 ส่วนหัว (Header) • เป็นส่วนที่อยู่ที่ตอนต้นของโปรแกรม โดยอยู่นอกส่วนที่เรียกว่าฟังก์ชัน จะประกอบด้วยคําสั่งที่เป็นการกำหนดค่าหรือกำหนดตัวแปรต่าง ๆ • เป็นคำสั่งที่ขึ้นต้นด้วยสัญลักษณ์“ # ” • เรียกว่า ตัวประมวลผลก่อน (Preprocessor) ซึ่งก็คือคําสั่งที่จะได้รับการทำก่อนที่จะมีการคอมไพล์โปรแกรม

  44. ตัวประมวลผล • ตัวประมวลผลก่อนที่สำคัญของภาษาซีแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ # include • เป็นฟังก์ชันมาตรฐานที่ผู้ผลิตคอมไพเลอร์ได้จัดเตรียมไว้ให้ ซึ่งผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมแกรมเอง ตัวอย่างเช่น #include <stdio.h> # define • ใช้สําหรับกําหนดค่าคงที่ • ตัวอย่างเช่น #define YES 1

More Related